ผู้เขียน หัวข้อ: วิบากกรรมที่ทำให้เสียดวงตาของในหลวง ร.9 โดย หลวงปู่ท่อน ญานธโร  (อ่าน 56 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ออฟไลน์ sithiphong

  • ทีมงานก้านแก้วเกล็ดใบทอง
  • ต้นสักทองเรืองรองฤทธิ์
  • *
  • กระทู้: 7544
  • พลังกัลยาณมิตร 2681
  • พระวังหน้าที่หลวงปู่เทพโลกอุดรเสก
    • ดูรายละเอียด
.
.
กรรมเป็นเรื่องที่น่ายินดีและน่ากลัวมาก
.
หากกรรมดี เป็นเรื่องที่น่ายินดีเป็นอย่างยิ่ง สั่งสมกรรมดี เพื่อเป็นเสบียงไว้ใช้ในการเดินทาง ที่ส่งผลให้ระยะเวลาในการเดินทางไปพระนิพพาน ไม่นานมาก
.
หากเป็นกรรมชั่ว เป็นเรื่องที่น่ากลัวมาก เนื่องจากต้องเสียเวลาในการไปชดใช้กรรมชั่วนั้น ทำให้ระยะเวลาในการเดินทางไปพระนิพพาน ยาวนานขึ้นมาก
.
เรื่องของ กรรมดี และ กรรมชั่ว สามารถเลือกกระทำได้ด้วยตนเอง
อยากจะทำอะไร แล้วแต่ใจตนเอง
.
บุญที่ทุกท่านสามารถกระทำได้ด้วยตนเอง มีวิธีการทำบุญได้ 10 วิธีนี้เท่านั้น
.
นั่นคือ บุญกริยาวัตถุ 10 ที่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนาม พระโคตมพุทธเจ้า ทรงได้สั่งสอนเวนัยสัตว์โลกทั้งหลายไว้ และ พระองค์ท่านไม่เคยตรัสในเรื่องใดที่ไม่ถูกต้องเลย
.
วิธีอื่น ไม่ใช่การทำบุญ
.
อีกประการหนึ่งก็คือ การกระทำในทุกเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องกรรมดี และ กรรมชั่ว ทุกท่านสามารถพิสูจน์ได้ด้วยตนเองว่า เรื่องที่เรากระทำไปนั้น เป็นเรื่องที่ดี หรือ เรื่องที่ชั่ว
.
.
.*************************************.
.
.
วิบากกรรมที่ทำให้เสียดวงตาของในหลวง ร.9 โดย หลวงปู่ท่อน ญานธโร
.
https://www.youtube.com/watch?v=FKFs5ZQpuHY
.
INFINITY.Chanel
23 ก.ค. 2022
.
.
.*************************************.
.
.
[89] บุญกิริยาวัตถุ 10 (ที่ตั้งแห่งการทำบุญ, ทางทำความดี — bases of meritorious action)
.
      1. ทานมัย (ทำบุญด้วยการให้ปันสิ่งของ — meritorious action consisting in generosity; merit acquired by giving)
.
      2. สีลมัย (ทำบุญด้วยการรักษาศีลหรือประพฤติดี — by observing the precepts or moral behavior)
.
      3. ภาวนามัย (ทำบุญด้วยการเจริญภาวนาคือฝึกอบรมจิตใจ — by mental development)
.
      4. อปจายนมัย (ทำบุญด้วยการประพฤติอ่อนน้อม — by humility or reverence)
.
      5. เวยยาวัจจมัย (ทำบุญด้วยการช่วยขวนขวายรับใช้ — by rendering services)
.
      6. ปัตติทานมัย (ทำบุญด้วยการเฉลี่ยส่วนแห่งความดีให้แก่ผู้อื่น — by sharing or giving out merit)
.
      7. ปัตตานุโมทนามัย (ทำบุญด้วยการยินดีในความดีของผู้อื่น — by rejoicing in others’ merit)
.
      8. ธัมมัสสวนมัย (ทำบุญด้วยการฟังธรรมศึกษาหาความรู้ — by listening to the Doctrine or right teaching)
.
      9. ธัมมเทสนามัย (ทำบุญด้วยการสั่งสอนธรรมให้ความรู้ — by teaching the Doctrine or showing truth)
.
      10. ทิฏฐุชุกัมม์ (ทำบุญด้วยการทำความเห็นให้ตรง — by straightening one’s views or forming correct views)
.
      ข้อ 4 และข้อ 5 จัดเข้าในสีลมัย; 6 และ 7 ในทานมัย; 8 และ 9 ในภาวนามัย; ข้อ 10 ได้ทั้งทาน ศีล และภาวนา
.
.
.*************************************.
.
.
กาลามสูตรกังขานิยฐาน 10
.
ที่มา เว็บไซด์ 84000
.
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)
พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)
.
.
[317] กาลามสูตรกังขานิยฐาน 10 (หมายถึง วิธีปฏิบัติในเรื่องที่ควรสงสัย หรือหลักความเชื่อ ที่ตรัสไว้ในกาลามสูตร — how to deal with doubtful matters; advice on how to investigate a doctrine, as contained in the Kalamasutta)
.
       1. มา อนุสฺสเวน (อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการฟังตามกันมา — Be not led by report)
.
       2. มา ปรมฺปราย (อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการถือสืบๆ กันมา — Be not led by tradition)
.
       3. มา อิติกิราย (อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการเล่าลือ — Be not led by hearsay)
.
       4. มา ปิฎกสมฺปทาเนน (อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการอ้างตำราหรือคัมภีร์ — Be not led by the authority of texts)
.
       5. มา ตกฺกเหตุ (อย่าปลงใจเชื่อ เพราะตรรก — Be not led by mere logic)
.
       6. มา นยเหตุ (อย่าปลงใจเชื่อ เพราะการอนุมาน — Be not led by inference)
.
       7. มา อาการปริวิตกฺเกน (อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการคิดตรองตามแนวเหตุผล — Be not led by considering appearances)
.
       8. มา ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติยา (อย่าปลงใจเชื่อ เพราะเข้าได้กับทฤษฎีที่พินิจไว้แล้ว — Be not led by the agreement with a considered and approved theory)
.
       9. มา ภพฺพรูปตาย (อย่าปลงใจเชื่อ เพราะมองเห็นรูปลักษณะน่าจะเป็นไปได้ — Be not led by seeming possibilities)
.
       10. มา สมโณ โน ครูติ (อย่าปลงใจเชื่อ เพราะนับถือว่า ท่านสมณะนี้เป็นครูของเรา — Be not led by the idea, ‘This is our teacher’)
.
       ต่อเมื่อใด รู้เข้าใจด้วยตนว่า ธรรมเหล่านั้น เป็นอกุศล เป็นกุศล มีโทษ ไม่มีโทษ เป็นต้นแล้ว จึงควรละหรือถือปฏิบัติตามนั้น
       สูตรนี้ ในบาลีเรียกว่า เกสปุตติยสูตร ที่ชื่อกาลามสูตร เพราะทรงแสดงแก่ชนเผ่ากาลามะ แห่งวรรณะกษัตริย์ ที่ชื่อเกสปุตติยสูตร เพราะพวกกาลามะนั้นเป็นชาวเกสปุตตนิคม
.
A.I.189
องฺ.ติก. 20/505/241.
.
.
.*************************************.
.
.

#ไม่เคยนำปืนไปจ่อหัวบังคับใครให้กระทำ
#การกระทำเป็นการกระทำด้วยกายวาจาใจของตนเองทั้งสิ้น
.
.
.
#กระทำถูกกฎระเบียบหน่วยงานราชการและบริษัทแต่ผิดกฎหมายต้องถูกดำเนินคดี
#กระทำถูกต้องตามกฎหมายแต่ผิดกฎแห่งกรรมต้องไปใช้กรรมเสมอ
.
.
.
#ของจริงต้องพิสูจน์ได้ด้วยตนเอง
.
#ต่อให้ไปไหว้พระพุทธรูปทั่วโลก
#ต่อให้ไปไหว้พระอริยสงฆ์ทั่วโลก
#ต่อให้ไปไหว้เทวรูปเทวดาทั่วโลก
#ไม่มีใครช่วยให้หนีกรรมพ้น
.
.
.
#ไม่ว่าใหญ่แค่ไหน
#ไม่ว่ารวยล้นฟ้าเพียงใด
#ไม่มีใครหนีกรรมพ้น
#แม้แต่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้ายังหนีกรรมไม่พ้น
.
.
.
#ต่อให้ใหญ่แค่ไหน
#ต่อให้รวยล้นฟ้าเพียงใด
#ไม่เคยมีใครหนีกรรมพ้น
#แม้แต่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้ายังต้องชดใช้กรรม
#บุพกรรมพระพุทธเจ้า
.
.
คณะหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร 1.หลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า 2.หลวงปู่พระโสณเถระเจ้า 3.หลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า(หลวงปู่อิเกสาโร)4.หลวงปู่พระฌาณียะเถระเจ้า(หลวงปู่ขรัวขี้เถ้า) 5.หลวงปู่พระภูริยะเถระเจ้า(หลวงปู่หน้าปาน)