แสงธรรมนำใจ > จิตวิวัฒน์ กระบวนการนิวเอจ นิเวศแนวลึก

ความจริงนำทางไปสู่ความสุขที่แท้จริง

<< < (11/17) > >>

ต๊ะติ้งโหน่ง:
 "เพราะจิตมีลักษณะรู้อารมณ์ จึงไม่

เป็นกิเลสด้วยความเศร้าหมอง   โดยสภาวะเป็นจิตบริสุทธิ์ทีเดียว  แต่เมื่อประกอบด้วย

อุปกิเลส    จิตจึงเศร้าหมอง แม้เพราะเหตุนั้น จึงควรเพื่อกล่าวว่า ปัณฑระ "

แค่นี้ พวกเดียรถีย์ ก็ตีความไม่ออกอ่า
ไปมั่ว ไปเหมาไปนึกไปคิด ว่าจิตแบบนั้นบริสุทธิ์

คุณจีรานุส มั่วซะไม่มีดี ยังจะมาแถไปเรื่อยๆ

 :27: :27: :27:


จีรานุช:
    :13:    พระพุทธเจ้า ตอนก่อนออกผนวชนั้น พระองค์ได้เห็น คนเกิด คนแก่ คนเจ็บ คนตาย และทรงเห็นว่าทั้ง 4 อย่างนี้เป็นความทุกข์ ดังนั้น พระองค์จึงทรงตัดสินใจออกผนวช เพื่อหาหนทางดับทุกข์ เพื่อพบความสุขที่แท้จริง ซึ่งก็คือภาวะนิพพาน (คือความสงบเย็น เป็นสุขอย่างยิ่ง)นั่นเอง
ดังนั้น ความรู้สึกที่ไม่อยากมีความทุกข์ หรืออยากพ้นทุกข์ จึงเป็นความรู้สึกที่บริสุทธ์ เพราะเป็ความรู้สึกที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ     :13:

ต๊ะติ้งโหน่ง:

--- อ้างจาก: จีรานุช ที่ ตุลาคม 30, 2011, 09:52:01 pm ---    :13:    พระพุทธเจ้า ตอนก่อนออกผนวชนั้น พระองค์ได้เห็น คนเกิด คนแก่ คนเจ็บ คนตาย และทรงเห็นว่าทั้ง 4 อย่างนี้เป็นความทุกข์ ดังนั้น พระองค์จึงทรงตัดสินใจออกผนวช เพื่อหาหนทางดับทุกข์ เพื่อพบความสุขที่แท้จริง ซึ่งก็คือภาวะนิพพาน (คือความสงบเย็น เป็นสุขอย่างยิ่ง)นั่นเอง
ดังนั้น ความรู้สึกที่ไม่อยากมีความทุกข์ หรืออยากพ้นทุกข์ จึงเป็นความรู้สึกที่บริสุทธ์ เพราะเป็ความรู้สึกที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ     :13:

--- End quote ---

อ่าน๊ะ
มั่วและแถไปอีกน่ะ

ความรู้สึกนั่น เกิดจากการกระทบด้วยด้วยอายตนะ
ไม่บริสุทธิ์อ่า
แม้จะเป็นบุญญาภิสังขารก็ตามอ่า

คุณจีรานุส อย่าเอาลัทธิเดียรถีย์ มายัดไส้เลยอ่า
ขัดแย้งพระไตรปิฎก ขัดแย้งพระอภิธรรมอ่า

 :42: :42: :42:


ต๊ะติ้งโหน่ง:
 :42: :42: :42:

อวิชชา เป็นปัจจัยให้เกิดสังขาร อ่า

 :42: :42: :42:

จีรานุช:
      :13:    ที่คุณต๊ะติ้งโหน่ง เคยถามดิฉันว่า เคยเห็นแววความสุขที่แท้จริงหรือยัง ดิฉันขอตอบว่า เคยเห็นและเคยมีความสุขที่แท้จริงแล้วค่ะ และดิฉันขอถามคุณต๊ะติ้งโหน่งว่า คุณต๊ะติ้งโหน่งเคยเห็นหรือเคยมีความสุขที่แท้จริงบ้างหรือยังคะ  ถ้าเคยเห็น หรือเคยมี นำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันหน่อยนะคะ      :13:

นำร่อง

[0] ดัชนีข้อความ

[#] หน้าถัดไป

[*] หน้าที่แล้ว

ตอบ

Go to full version