มัชฌิมาปฏิปทาในทาง พุทธศาสนา หมายถึง ทางสายกลาง
คือ การไม่ยึดถือสุดทางทั้ง 2 ได้แก่
อัตตกิล มถานุโยค คือ การประกอบ ตนเองให้ ลำบากเกินไป
กามสุขัล ลิกานุโยค คือ การพัวพันใน
กาม ใน ความสบาย
ที่ไม่ใช่ทางสายกลาง
คือ สักแต่ว่ากลาง โดยเป็น แต่เพียงโวหารไม่ได้กำหนดวิธีที่ถูกต้องไว้เลย
แต่ พระพุทธองเจ้า ได้ทรงกำหนด หลัก ทางสายกลางนี้ไว้อย่างชัดเจน
คือ อริยมรรคมีองค์ 8 เมื่อ ย่นย่อแล้ว เรียกว่า "ไตรสิกขา" ได้แก่ ศีล สมาธิ ปัญญามัชฌิมาปฏิปทา หมายถึง การปฏิบัติสายกลาง ซึ่ง
หลักปฏิบัติ ย่อมต้อง คู่กับ หลักการ อันเป็น สายกลางเช่นกัน
โดยที่หลักการอันเป็น สายกลางนี้เรียกว่า
มัชเฌนธรรม หรือหลักการที่ว่าด้วย
ความสมดุล (สมตา)อันเป็น ลักษณะอันเป็น สากลของ
สรรพสิ่ง อย่างหนึ่ง เช่นเดียวกับ
ไตรลักษณ์ อิทัปปัจจยตา สุญญตา ตถตาอันเป็น
กฎธรรมชาติ อันเป็น หลักการสากลของสรรพสิ่ง เหมือนกัน อย่างหนึ่ง
มัชฌิมาปฏิปทา ใช้ใน ความหมายถึง ความพอเพียง หรือ การใช้ชีวิต ที่ถูกต้อง
ตามหลัก
สัมมาอาชีวะ คือใช้ ชีวิตอย่าง รู้ประมาณในการบริโภค
คือใช้ปัจจัยสี่เท่าที่จำเป็น
ไม่ใช่ใช้ตามความ ต้องการเพื่อ สนอง
ความอยากมัชฌิมาปฏิปทา แปลว่า ทางสายกลาง หมายถึง
ทางปฏิบัติที่ไม่สุดโต่งไปใน ทาง
อุดมการณ์ ใด อุดมการณ์หนึ่งเกินไป มุ่งเน้นใช้ปัญญา ในการแก้ปัญหา
มัก ไม่ยืดถือ หลักการอย่างงมงาย
มัชฌิมาปฏิปทา ในทางจิตวิญญาณ หมายถึง
สติ
สติเป็นความสมสมดุลทางจิต อย่างหนึ่ง คือสมดุล ระหว่าง
ศรัทธาและ
ปัญญาสติจะ อยู่ตรงกลาง ระหว่าง อารมณ์ และ เหตุผล ถ้า
ความคิดเปรียบเป็นน้ำไหล
สมาธิเปรียบ เป็นน้ำนิ่ง
สติจะเป็น น้ำไหลนิ่ง คือ
สติเป็น ทางสายกลาง ทางจิตวิญญาณจากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี-http://www.facebook.com/pages/พระพุทธเจ้า/