ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: กันยายน 18, 2010, 09:56:49 pm »

 :13: ขอบคุณครับน้องฝน^^
ข้อความโดย: rain....
« เมื่อ: กันยายน 18, 2010, 06:30:51 pm »

วิจัยพบสารสกัดใบหม่อนช่วยเพิ่มสมรรถภาพจดจำดีขึ้น

โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์   17 กันยายน 2553 14:11 น.
   


กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ร่วมมือกับคณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ศึกษาวิจัยพบสารสกัดใบหม่อนมีฤทธิ์ต่อสมรรถภาพทางกาย และจิตใจทำให้กล้าม เนื้อต้นขามีความแข็งแรง การเรียนรู้และการจดจำดีขึ้นเตรียมต่อยอดขยายผลสู่กา รผลิตเชิงพาณิชย์ซึ่งจะ เป็นการส่งเสริมอุตสาหกรรมสมุนไพรไทย

นายแพทย์จักรธรรม ธรรมศักดิ์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เปิดเผยว่า กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ โดยสถาบันวิจัยสมุนไพร ได้ร่วมมือกับคณะแพทย์ศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น ดำเนินการวิจัย “ฤทธิ์ของสารสกัดใบหม่อนต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพชีวิ ตในอาสาสมัครวัยกลางคน และสูงอายุ” โดยศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดใบหม่อนต่อสมรรถภาพทางกาย สมรรถภาพทางจิต การเรียนรู้และการจดจำ ในกลุ่มประชากรอายุตั้งแต่ 55-70 ปี จำนวน 60 คน แบ่งเป็น 3 กลุ่มๆ ละ 20 คน อาสาสมัครกลุ่มที่ 1, 2 และ 3 จะได้รับยาหลอก สารสกัดใบหม่อนขนาด 1,050 มิลลิกรัม/วัน และ 2,100 มิลลิกรัม/วัน ตามลำดับโดยใช้เครื่องมือในการตรวจประเมินการเรียนรู ้และความจำ การประเมินอารมณ์และการประเมินสมรรถภาพทางกายที่เป็น มาตรฐานและใช้กันอย่าง แพร่หลายหลังจากอาสาสมัครรับประทานสารสกัดครั้งแรก 30 นาทีวัดประเมินฟังก์ชันการเรียนรู้และความจำหลังจากน ั้นให้อาสาสมัครรับ ประทานสารสกัดต่อไปตามตารางที่กำหนดจนครบ 3 เดือนทุกๆ เดือนจะนัดอาสาสมัครมาตรวจประเมินผลต่อการเปลี่ยนแปล งฟังก์ชันการเรียนรู้ และความจำสมรรถภาพ ทางกายและจิต
การ เปลี่ยนแปลงทางอารมณ์การเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนค อติซอล และการทำงานของระบบประสาทซิมแพทเทติก รวมทั้งติดตามความปลอดภัยของสารสกัดหม่อนในอาสาสมัคร โดยการตรวจประเมินการเปลี่ยนแปลงทางโลหิตวิทยา และเคมีคลินิกทุกเดือน พบว่า การรับประทานสารสกัดใบหม่อนขนาด 1,050 และ 2,100 มิลลิกรัมต่อวัน ติดต่อกันเป็นเวลา 3 เดือน มีความปลอดภัยและมีศักยภาพในการที่จะทำให้ทั้งสมรรถภ าพทางกายและจิตของอาสา สมัครดีขึ้น สารสกัดใบหม่อนมีศักยภาพที่จะทำให้อาสาสมัครมีการทรง ตัวได้ดีขึ้นทำให้กล้าม เนื้อต้นขามีความแข็งแรงมากขึ้น จึงมีประโยชน์ในการลดความเสี่ยงในการหกล้มทำให้อาสาส มัครมีการเรียนรู้และ ความจำชนิดความจำใช้งาน (working memory) เพิ่มขึ้นโดยทำให้สามารถให้ความสนใจต่อสิ่งเร้าเพื่อ นำข้อมูลมาประมวลผลใน กระบวนการระยะต่างๆ ของความจำได้ดี มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น และมีผลต่อการเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการบูรณาการข้ อมูลในกระบวนการเรียน รู้และการจดจำ(cognitiveprocessing)

อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์กล่าวต่ออีกว่า สารสกัดใบหม่อนจึงเป็นประโยชน์ทั้งต่อกลุ่มผู้ที่มีป ัญหาเรื่องความจำ บกพร่องโดยตรง และกลุ่มเด็กที่มีปัญหาเรื่องความใส่ใจ (attention)นอกจากนี้ ผลิตภัณฑ์สารสกัดใบหม่อนยังมีฤทธิ์ในการลดกลุ่มอาการ ซึมเศร้าและกลุ่มอาการ วิตกกังวลในอาสาสมัคร ทั้งนี้ ประสิทธิผลของสารสกัดในการเพิ่สมรรถภาพทางกายและจิตร วมถึงเพิ่มการเรียนรู้ และความจำในอาสาสมัครขึ้นกับปริมาณหรือขนาดของสารสกั ดที่ได้รับต่อวัน และระยะเวลาที่อาสาสมัครบริโภคสารสกัดจึงมีศักยภาพใน การนำไปประยุกต์ใช้ใน รูปผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพผู้สูงอายุทั้งในภาวะปกติเพื ่อสร้างเสริมสุขภาพและ นำไปใช้เสริมการรักษา (adjuvant therapy) ในหลายโรค เช่น ในกรณีที่มีความจำบกพร่อง กรณีซึมเศร้า หรือในผู้ป่วยที่มีปัญหาเรื่องการทรงตัว ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการแพทย์และสาธารณสุข และสามารถขยายผลสู่การผลิตเชิงพาณิชย์เป็นการส่งเสริ มอุตสาหกรรมสมุนไพรไทย

นางมาลี บรรจบ ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยสมุนไพรกรมวิทยาศาสตร์การแพทย ์กล่าวเพิ่มเติมว่า หม่อน (Morus alba Linn.) วงศ์Moraceae เป็นสมุนไพรทั้งในการแพทย์แผนไทยและจีน จากการศึกษาวิจัยในหลอดทดลองและสัตว์ทดลองที่ผ่านมาพ บว่า ใบหม่อนมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระลดความบกพร่องในการเรี ยนรู้และความจำที่เกิด จากความบกพร่องของระบบประสาทโคลิเนอร์จิก (cholinergic) ที่จำลองภาวะความจำบกพร่องในภาวะสูงอายุ และโรคอัลไซเมอร์(Alzheimer’s disease) นอกจากนั้นใบหม่อนยังมีสารอาหารที่สำคัญหลายชนิด ได้แก่กลูโคส, วิตามิน A, B1, B12 และ C และจากการศึกษาความเป็นพิษ ในสัตว์ทดลองและความปลอดภัยในคนสารสกัดหม่อนในขนาดที ่ใช้ในการรักษาก็ไม่ทำ ให้เกิดพิษดังนั้นจึงมีมีศักยภาพสูงในการที่จะพัฒนาเ ป็นอาหารเสริมสุขภาพ เพื่อชะลอความเสื่อมของร่างกาย เพิ่มสมรรถภาพทางกายและจิตตลอดจนคุณภาพชีวิตได้ด้วยเ หตุนี้กรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ โดย สถาบันวิจัยสมุนไพรจึงได้จัดประชุมวิชาการเรื่อง “หม่อนรักษ์คุณภาพชีวิต ส่งเสริมเศรษฐกิจไทย” ในวันที่ 17 กันยายน 2553 ณ โรงแรมริชมอนด์ จ.นนทบุรี เพื่อเผยแพร่คุณค่าของสมุนไพรหม่อนให้เป็นที่ประจักษ ์ต่อประชาชนได้หันมา นิยมใช้ผลิตภัณฑ์เสริมคุณภาพจากสมุนไพรภายในประเทศ ทดแทนผลิตภัณฑ์สุขภาพประเภทเดียวกันที่นำเข้าจากต่าง ประเทศ ซึ่งจะเป็นอีกก้าวหนึ่งที่คนไทยจะช่วยส่งเสริมเศรษฐก ิจไทย สนับสนุนนโยบายไทยเข้มแข็งของรัฐบาล