ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: rain....
« เมื่อ: กันยายน 19, 2010, 01:09:43 pm »

อนุโมทนา  สาธุ :07:งับพี่ปู
ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: กันยายน 18, 2010, 09:35:40 pm »

 :13: อนุโมทนาครับพี่ปู
ข้อความโดย: होशདངພວན2017
« เมื่อ: กันยายน 18, 2010, 08:57:16 am »



[youtube]http://www.youtube.com/watch?v=6ie5F84S_sw[/youtube]

การอบรมเจริญเมตตาเป็นเรื่องละเอียด เพราะสภาพธรรมต้อง

ตรงตามความจริง คือ ขณะที่{กุศลจิต}เกิดแม้เพียงเล็กน้อยก็ต่างกับขณะที่

โลภะเกิดมาก ๆ แต่ถ้า{สติปัฏฐาน}หรือ สติสัมปชัญญะ ไม่เกิดจะรู้ได้อย่างไร

ว่า ขณะใดเป็น{โลภะ}ขณะใดเป็น{เมตตา}เมื่อไม่รู้จึงอาจเจริญโลภะแทน

เจริญเมตตาก็ได้

ฉะนั้น จึงจำเป็นจะต้องศึกษาโดยละเอียดให้รู้ลักษณะที่ต่าง

กันของโลภะและเมตตาข้อความใน{อัฏฐสาลินีนิกเขปกัณฑ์}อธิบาย

นิทเทสโลภะ{๑๐๖๕}แสดงลักษณะอาการต่าง ๆ ของโลภะที่ต่างกับ

เมตตามีข้อความว่า.....................................

ชื่อว่า ความกำหนัด เนื่องด้วยความยินดี  ชื่อว่า ความกำหนัด

นักโดยความหมายว่ายินดีรุนแรงชื่อว่าความคล้อยตามอารมณ์เพราะยัง

สัตว์ทั้งหลายให้คล้อยตามไปในอารมณ์ทั้งหลาย

นี่เป็นชีวิตประจำวันที่จะต้องพิจารณาจริง ๆ ว่าในขณะใดที่

เมตตาไม่เกิดจิตย่อมคล้อยตามโลภะไปในอารมณ์ต่าง ๆ อยู่ตลอดเวลา

ถ้าไม่สังเกตจะไม่รู้เลยว่าจิตคล้อยตามโลภะอยู่เสมอเมื่อมีความยินดีพอใจ

ในอารมณ์ใดก็กระทำตามความคิดตามความพอใจในอารมณ์นั้นทุกอย่าง

ในขณะนั้นรู้ได้ว่าไม่ใช่{เมตตา}เมื่อรู้ลักษณะของโลภะแล้ว

ภายหลังเมื่อเมตตาเกิดก็จะเปรียบเทียบได้ถูกต้องว่าลักษณะของ{โลภะ}

ต่างกับลักษณะของเมตตา ยกมาจาก{ธัมมนิเทส}

{โลภะ} บางเบาแทรกอยู่ในอากาศ

ฉวยโอกาสอยู่เนือง ๆ................................................... 


มูลนิธิศึกษาและเผยแพร่พระพุทธศาสนา

สำนักงานเลขที่ 174/1 ซอย เจริญนคร 78

ดาวคะนอง ธนบุรี

กรุงเทพมหานคร 10600 โทร 02 - 4680239