ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: กันยายน 21, 2010, 02:01:00 pm »

 :45: ขอบคุณครับพี่บัว เป็นอะไรที่น่าสนใจดีครับ "วิถีชีวิตแห่งความสุข"

 :13: ^^
สุขทุกข์รู้สึกว่า..เหมือนอยู่ที่ใจเราเลยครับ
ข้อความโดย: ดอกโศก
« เมื่อ: กันยายน 21, 2010, 01:06:23 pm »

ขอเชิญไปร่วมงานด้วยกันค่ะ 
ใครไปบอกด้วยนะคะ เผื่อจะได้เจอกันค่ะ ^_^

-----------------------------------------------------------


The 1000 Stars Foundation and Center for Ethics of Science and Technology, Chulalongkorn University are pleased to invite interested persons to join an upcoming conference/seminar on “Ways of Happiness,” on 2 October 2010 at Chumpot-Boripat Conference Room, Prachadipok-Rampaipannee Building (near Faculty of Political Science), Chulalongkorn University. The conference is in Thai.

In the afternoon, there will be a public lecture on “Happiness from Dzogchen perspective,” at 3-5 pm. It will be conducted in English. The speaker is Latri Khenpo Geshe Nyima Dakpa Rinpoche. Back in December 2005, Rinpoche gave a most memorable talk on “Bon and Dzogchen” in the international conference on “Body and Mind”. There are no registration fees. But there is a need to register in advance by sending your email request to 1000tara@gmail.com. Refreshments will be served before the talk.



การประชุมและเสวนาเรื่อง “วิถีแห่งความสุข”

ห้องประชุมจุมภฏ-พันธุ์ทิพย์ อาคารประชาธิปก-รำไพพรรณี คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 

วันเสาร์ที่ 2 ตุลาคม 2553 เวลา 8.30-17.00 น.
จัดโดยมูลนิธิพันดาราและศูนย์จริยธรรมวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ไล่ล่า “ความสุข” ก็เหมือนเด็กวิ่งไล่จับรุ้งกินน้ำ (ดิลโก เคียนเซ ริมโปเช)

 

ความสุขเป็นสิ่งที่ทุกคนปรารถนา แต่หลายคนกลับไม่รู้ว่าความสุขที่แท้จริงคืออะไร สังคมสมัยใหม่มักให้ความหมายว่า ความสุขคือสิ่งที่ซื้อได้ด้วยเงิน และเป็นสิ่งเดียวกันกับความพึงพอใจทางเนื้อหนัง หรือการได้บำรุงบำเรอประสาทสัมผัสต่างๆ แต่สิ่งที่เกิดขึ้นก็คือยิ่งเราใช้จ่ายบริโภคไปเท่าใด ก็ดูเหมือนว่าเรายิ่งห่างไกลจากความสุขไปเท่านั้น เพราะกลับเกิดความไม่พอใจ หรือไม่รู้จักพอเพียง



ความสุขจึงเป็นสิ่งที่ผู้คนไขว่คว้า แต่ก็ดูเหมือนว่าจะไม่ได้รับ เปรียบเสมือนเด็กวิ่งไล่จับรุ้งกินน้ำ ความสุขเกิดขึ้นแล้วหมดไปอย่างรวดเร็ว เพราะความสุขที่ผู้คนส่วนใหญ่คิดคำนึงเป็นเพียงความสุขที่เกิดจากเหตุปัจจัยจากภายนอกไม่ว่าจะเป็นชื่อเสียง เกียรติยศ เงินทอง สมบัติ หรือความปรารถนาที่จะครอบครองสิ่งใด ด้วยเหตุนี้ ผู้คนจึงยังเต็มไปด้วยความทุกข์ และเกิดปัญหาความขัดแย้งต่างๆมากมายในสังคม

 

วัตถุประสงค์
1. นำเสนอหลากหลายหนทางและแนวทางในการเข้าถึงความสุข
2. เสนอทางออกให้แก่ผู้คนในสังคมว่าความสุขที่แท้จริงและยั่งยืนนั้นจะได้มาได้อย่างไร
3. กระตุ้นความสนใจที่จะศึกษาค้นคว้าวิจัยและวิพากษ์กี่ยวกับความสุขในแง่มุมต่างๆในสังคมไทย

การลงทะเบียน
ไม่เก็บค่าลงทะเบียน ทางมูลนิธิยินดีบริการอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมประชุม

ผู้สนใจสามารถร่วมเป็นเจ้าภาพอาหารว่างหรืออาหารกลางวันสำหรับวิทยากรและจิตอาสาช่วยงาน   




โปรดสำรองที่นั่งภายในวันที่ 27 กันยายน 2553 Email: 1000tara@gmail.com มือถือ 0806100770


รายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับมูลนิธิ


www.thousand-stars.org;

http://krisadawan.wordpess.com/

http://www.facebook.com/ThousandStarsFoundation



กำหนดการ วันเสาร์ที่ 2 ตุลาคม 2553 (ฉบับปรับใหม่)
8.30 น. ลงทะเบียน
9.00 น. พิธีเปิดและภาวนาเพื่อสันติสุขของสรรพชีวิต
9.15 น. เสวนา “วิถีแห่งความสุข”
กฤษดาวรรณ หงศ์ลดารมภ์ (อาจารย์สอนเรื่องทิเบต)

สุรเชษฐ เวชชพิทักษ์ (อาจารย์ประจำสถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน)

ณัฐฬส วังวิญญู (สถาบันขวัญแผ่นดิน)
10.45 น. เติมความสุขยามเช้า
11.15 น. “จิตวิทยาแห่งความสุข”
ดร. กรรณิการ์ นลราชสุวัจน์ (ผู้เชี่ยวชาญด้านจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
12.00 น. พักผ่อนยามเที่ยงและรับประทานอาหารกลางวันตามอัธยาศัย
13.00 น. “มองเรื่องร้าย...ด้วยความสุข”
คุณมาฬิศร์ เชยโสภณ (นักแสดง นักเขียน บรรณาธิการ ผู้เขียน
14.00 น. “ความสุขบนความทุกข์”
จิตร์ ตัณฑเสถียร (นักวิจัยพฤติกรรมและนักวางแผนกลยุทธ์การสื่อสาร)
14.45 น. จิบความสุขในความว่าง
15.00-17.00 น. “ความสุขในมุมมองของซกเช็น” (Happiness in Dzogchen Perspective)
ลาตรี เคนโป ญีมา ทรักปา ริมโปเช (ครูทางจิตวิญญาณชั้นนำของทิเบต ผู้สร้างศูนย์ปฏิบัติธรรมในหลายประเทศทั่วโลก)
**บรรยายเป็นภาษาอังกฤษ แปลเป็นไทยโดยดร. กฤษดาวรรณ หงศ์ลดารมภ์