ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: กรกฎาคม 16, 2010, 08:30:23 am »


อนุโมทนาค่ะ พี่แป๋ม  :07:

ชอบข้อความส่วนนี้ค่ะ.."ควรจะโทษความไม่เอาจริงความไม่ทุ่มเทของตน"

เป็นเช่นนั้นจริงๆ ถึงได้ไม่เข้าถึงธรรมะเสียที..มีแต่สัญญา.. :22:

เห็นธรรมในธรรมตรงนี้แล้ว.. ท่านว่า ให้เจริญสติพิจารณาสภาวธรรม ที่เกิดขึ้นตาม
ความเป็นจริง
แค่ เห็น ไม่ตามคิด.. ไปไหว, เคลื่อน.. ทำให้เกิดทุกข์ละ วาง น่ะค่ะ..
เรามาพิจารณาเจริญสติด้วยกันค่ะน้องบัว.. ไม่ท้อน๊า สู้ๆด้วยกันค่ะ...
ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: กรกฎาคม 15, 2010, 11:17:41 am »

 :45: อนุโมทนาครับพี่แป๋ม ทุกอย่างไม่มีอะไรที่แน่แท้ นอกจากหลักธรรมความดีเลยนะครับ
ข้อความโดย: ดอกโศก
« เมื่อ: กรกฎาคม 15, 2010, 08:16:57 am »

อนุโมทนาค่ะ พี่แป๋ม  :07:

ชอบข้อความส่วนนี้ค่ะ.."ควรจะโทษความไม่เอาจริงความไม่ทุ่มเทของตน"

เป็นเช่นนั้นจริงๆ ถึงได้ไม่เข้าถึงธรรมะเสียที..มีแต่สัญญา.. :22:
ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: กรกฎาคม 15, 2010, 08:07:34 am »





สิ่งสมบูรณ์
เขมปัตโตวาท


พระธรรมวินัยเป็นของบริบูรณ์ไม่บกพร่อง ไม่เหมือน
กฎหมายต่างๆ
ที่ต้องมีการตัดอออกเพิ่มเข้าต้องแก้ไขกันอยู่บ่อยๆ
ผู้นับถือพระศาสนาต่างๆให้ความเคารพว่า พระธรรมวินัยบริสุทธิ์
จึงไม่มีการบัญญัติสิ่งทั้งหลายที่พระองค์ไม่บัญญัติขึ้นใหม่
 
และไม่ถอนสิ่งที่พระองค์ทรงบัญญัติไว้แล้วออก
พระพุทธเจ้าทุกยุคทุกสมัย เมื่อท่านอุบัติขึ้นในโลก ทุกท่านทุกองค์
ได้กล่าวธรรมวินัยเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน มิได้ปีนเกลียวเลย

เมื่อเป็นเช่นนี้ก็ทำให้เราสามารถที่จะตีความได้ชัดว่า
การที่เราเกิดมาในพระศาสนาของพระพุทธเจ้าพระองค์ใด
 
ก็เท่ากับได้เกิดในพระพุทธศาสนาของพระพุทธเจ้าทุกๆพระองค์แล้ว
ไม่จำเป็นที่จะปรารถนามาพบพระพุทธเจ้าพระองค์นั้นพระองค์นี้อีกก็ได้
เพราะเท่ากับได้พบทุกๆพระองค์แล้ว

มีแต่ให้ตั้งหน้าปฏิบัติให้ทวีคูณขึ้นเท่านั้นเป็นการดีถูกต้องแน่นอน
เพราะคำสอนของพระพุทธเจ้ากี่ล้านๆ พระองค์
ก็มีคำสอนเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
 
เรามีหน้าที่ที่จะเดินทางตรงไปสู่พระนิพพานอย่างไม่บิดพลิ้ว
จะถึงช้าหรือเร็วก็ไม่แวะไม่หยุด
แล้วความสงสัยในพระพุทธศาสนาก็ย่อมจะสลายตัวหมดลงไปๆ
และไม่มีหลงเหลืออยู่ในขันธสันดานในที่สุด


“ไม่ควรตั้งข้อท้อถอยบิดพลิ้วว่าตัวเองวาสนาบารมีน้อย
ถ้าวาสนาบารมีน้อย
ทำไมจึงเกิดทันพระพุทธศาสนา ในขณะที่พระธรรมคำสั่งสอนยังมีสมบูรณ์
ทุกอย่างยังมีพร้อม เพื่อการปฏิบัติ


ควรจะโทษความไม่เอาจริงความไม่ทุ่มเทของตน
มากกว่าจะโยนความไปให้วาสนาบารมี
เพราะพระธรรมคำสอนในพระพุทธเจ้าพระองค์ไหน ก็เหมือนกันอยู่ทุกๆพระองค์”


เขมปัตโตวาท





 :13:  http://ongart.spaces.live.com/?_c11_BlogPart_BlogPart=blogview&_c=BlogPart