ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: กันยายน 23, 2010, 12:34:14 am »

 :13: อนุโมทนาครับพี่แฮม   ขอบคุณครับผม^^
ข้อความโดย: ตถตา
« เมื่อ: กันยายน 22, 2010, 09:59:06 pm »

ดอกไม้กับการปฏิบัติธรรม



มีอุบาสิกาท่านหนึ่ง ทุกๆวันจะนำดอกไม้จากที่บ้าน ไปเปลี่ยนดอกไม้ในแจกันหน้าพระประธานที่วัด วันหนึ่งขณะที่นำดอกไม้ไปที่วัด ได้พบกับพระอาจารย์ท่านหนึ่ง พระอาจารย์ได้ทักทายขึ้นว่า

“โยมนำดอกไม้มาบูชาพระทุกวัน ตามตำราเขาว่า ชาติหน้าเกิดมาต้องมีรูปโฉมที่งดงามแน่นอน”

“ดิฉันทำอย่างนั้นเพราะ ทุกๆวันที่ดิฉันนำดอกไม้มาที่วัด รู้สึกเหมือนกับจิตวิญญาณถูกชำระด้วยน้ำที่ใสสะอาด แต่เมื่อได้กลับไปที่บ้าน จิตกลับรู้สึกฟุ้งซ่าน ไม่สงบ เกิดมาเป็นผู้หญิงแม่บ้าน ทำอย่างไรถึงจะอยู่ในโลกที่วุ่นวายสับสน และก็ยังสามารถรักษาจิตให้สะอาดและสงบได้เจ้าคะ?”

พระอาจารย์ตอบว่า “การรักษาจิตให้สะอาดและสงบ ก็ใช้หลักการเดียวกับการรักษาดอกไม้ให้สดสวยเช่นกัน โยมอยู่กับดอกไม้บ่อยๆ ย่อมจะต้องรู้จักวิธีการรักษาดอกไม้ “

อุบาสิกานั้นตอบว่า “วิธีที่จะรักษาดอกไม้ให้สดเสมอ ไม่มีอะไรจะดีไปกว่าการเปลี่ยนน้ำทุกวัน และก่อนที่จะนำ ดอกไม้ไปใส่ต้องตัดปลายกิ่งที่เน่าออกเสียก่อน เพราะส่วนที่เน่าไม่สามารถดูดน้ำไปเลี้ยงดอกได้ ดอกไม้จะเ**่ยวแห้งได้ง่าย”

พระอาจารย์พูดต่อว่า “นั่นแหละถูกแล้ว สิ่งแวดล้อมรอบตัวก็เหมือนน้ำ ตัวเราก็เหมือนดอกไม้ ต้องตัดกิเลสและสิ่ง เศร้าหมองออกถึงจะสามารถดูดซับสิ่งดีๆจากธรรมชาติได้”

อุบาสิกานั้นกล่าวขอบคุณ และหวังว่าจะมีโอกาสมาปฏิบัติธรรมอยู่ที่วัดบ้าง เพื่อที่จะได้ฟังเสียงระฆังยามทำวัตรเช้า ได้สวดมนต์ และได้ใช้ชีวิตอย่างสงบในวัด

พระอาจารย์กล่าวต่อว่า “กายของเจ้าเปรียบได้ดั่งวัด ชีพจรดั่งเสียงระฆัง สองหูคือพุทธะ ลมหายใจเป็นบทสวดมนต์ ทุกแห่งหนล้วนสุขสงบ ยังมีความจำเป็นใดต้องมาปฏิบัติธรรมในวัดอีก”


http://www.agalico.com/board/showthread.php?t=2389