ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: กันยายน 23, 2010, 12:34:22 am »

 :13: อนุโมทนาครับพี่แฮม   ขอบคุณครับผม^^
ข้อความโดย: ตถตา
« เมื่อ: กันยายน 22, 2010, 10:00:02 pm »

ทางแห่งความสุข



มีอุบาสก 3 ท่านถามพระอาจารย์ว่า “นับถือศาสนาพุทธ
สามารถหลุดพ้นจากทุกข์ได้จริงหรือ? แล้วทำไมพวกเรา นับถือพุทธมานาน ถึงยังไม่มีความสุข”

“พวกเจ้ามีชีวิตอยู่เพื่ออะไร?” พระอาจารย์ถาม

คนที่หนึ่งตอบว่า “ข้าพเจ้ามีชีวิตอยู่เพื่อจะไม่ตาย ความตายน่ากลัวเหลือเกิน ข้าพเจ้ายังไม่อยากตายดังนั้นจึงยังอยากมีชีวิตอยู่”

คนที่สองตอบว่า “ข้าพเจ้ามีชีวิตอยู่เพื่อ...ตอนนี้ที่ยังหนุ่มต้องขยันขันแข็ง เพื่อจะได้มั่งมีศรีสุขในตอนแก่”

คนที่สามตอบว่า “ข้าพเจ้ามีชีวิตอยู่เพื่อเลี้ยงดูคนทั้งครอบครัว ไม่มีข้าพเจ้า พวกเขาคงจะอยู่ไม่ได้ ข้าพเจ้าเป็นเสาหลักของครอบครัว ขาดข้าพเจ้าไป ครอบครัวนี้ต้องล่มสลายเป็นแน่”

พระอาจารย์ตอบว่า “ทั้งวันพวกเจ้าคิดถึงแต่เรื่องความตาย ความแก่ ความบากบั่น จะมีความสุขได้อย่างไร?” พวกเจ้าควรคิดถึง หลักการ ความเชื่อมั่น หน้าที่ คิดเรื่องเหล่านี้ถึงจะมีความสุข”

เหล่าอุบาสกเชื่อครึ่งและไม่เชื่อครึ่ง พูดว่า “เรื่องเหล่านี้ พูดแล้วดูเหมือนง่าย แต่ความจริงสิ่งเหล่านี้กินแทนข้าวได้หรือ?” ไม่มีข้าวกินแล้วจะมีความสุขได้อย่างไร?”

“แล้วพวกเจ้าคิดว่ามีสิ่งใดถึงจะมีความสุข?”

คนที่หนึ่งตอบว่า “มีชื่อเสียงเกียรติยศก็จะมีทุกอย่าง ดังนั้นการมีชื่อเสียงจึงจะมีความสุข”

คนที่สองตอบว่า “ความรักเป็นสิ่งหอมหวานที่สุด มีความรัก ก็จะมีความสุข”

คนที่สามตอบว่า “เงินทองมีประโยชน์ใช้สอยมากที่สุด มีเงินแล้ว ก็จะมีความสุข”

“ทำไมในโลกนี้ มีคนมากมายที่มีชื่อเสียง มีเงินทอง มีความรัก ถึงยังไม่มีความสุข ?” พระอาจารย์ถาม แล้วพูดต่อว่า

“เงินทองต้องนำมาทำทานบ้าง ถึงจะมีความสุข ความรักต้องรู้จักการให้ถึงจะมีความสุข การมีชื่อเสียง ต้องรู้จักบริการและช่วยเหลือส่วนรวม ถึงจะมีความสุข

สิ่งเหล่านี้คือทางแห่งความสุขที่แท้จริง”


http://www.agalico.com/board/showthread.php?t=2389