ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: กันยายน 23, 2010, 11:12:45 pm »

 :13: อนุโมทนาครับพี่สาว^^
ข้อความโดย: เลดี้เบื๊อก
« เมื่อ: กันยายน 23, 2010, 10:34:28 pm »



 
การ สร้างสมความดีและความชั่ว ทั้งสองอย่างนี้ เนื่องมาจากความยึดมั่นถือมั่นต่อรูปธรรม. ผู้ที่ยึดมั่นในรูปธรรม ซึ่งทำความชั่วจะต้องทนรับการเกิดแล้วเกิดอีก ด้วยประการต่างๆ อย่างไม่จำเป็น. ส่วนผู้ที่ยึดมั่นในรูปธรรม ซึ่งทำความดี ก็ทำตัวเองให้ตกลงไปเป็นทาสของความพยายาม มันจะเกิดความรู้สึกว่าตนเป็นผู้ขาดแคลนอยู่เสมอโดยเท่าเทียมกัน อย่างไม่มีที่มุ่งหมาย. ในทั้งสองกรณีนั้นมันจะเป็นการดีเสียกว่า ถ้าหากว่าเขาจะทำให้เกิดความเห็นแจ้งในตนเองอย่างฉับพลัน และในการที่จะยึด หลักธรรม อันเป็นหลักมูลฐานของสัตว์ทั้งหลาย ดังที่กล่าวแล้ว.

 
หลัก ธรรม ที่กล่าวนี้ ก็คือ จิต ซึ่งถ้านอกไปจากนั้นแล้ว ก็ไม่มีหลักธรรมใดๆ เลย, และ จิต นี่แหละ คือ หลักธรรม ซึ่งถ้านอกไปจากนั้นแล้ว มันก็ไม่มีจิต. จิต นั้น โดยตัวมันเอง ก็ไม่ใช่จิต, แต่ถึงกระนั้น มันก็ยังมิใช่จิต. การที่กล่าวว่า จิต นั้นมิใช่จิตดังนี้นั่นแหละย่อมหมายถึงสิ่งบางสิ่ง ซึ่งมีอยู่จริง. ขอให้มีความเข้าใจอย่างนิ่งเงียบเถิด! ไม่มีอะไรมากไปกว่านั้น.
 

จง ละเลิกความคิดและการอธิบายเสียให้หมดสิ้น. เมื่อนั้นเราอาจจะกล่าวได้ว่า คลองแห่งคำพูดได้ถูกตัดขาดไปแล้ว และพฤติการณ์ของจิต ก็ถูกเพิกถอนขึ้นโดยสิ้นเชิงแล้ว.
 

จิต นั้น คือ พุทธโยนิอันบริสุทธิ์ ที่มีประจำอยู่แล้วในคนทุกคน. สัตว์ซึ่งมีความรู้สึกนึกคิดกระดุกกระดิกได้ทั้งหมดก็ดี, และพระพุทธเจ้าพร้อมทั้งพระโพธิสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงก็ดี. ล้วนแต่เป็นของสิ่งหนึ่งแห่ง ธรรมชาติ อันหนึ่งนี้เท่านั้น และไม่แตกต่างกันเลย. ความแตกต่างทั้งหลายเกิดขึ้นจากความคิดผิดๆ เท่านั้น และย่อมนำไปสู่การก่อสร้างกรรมทั้งหลายทั้งปวงทุกชนิด ไม่มีหยุด.


:07:
ขอบคุณที่มา
บันทึกชึนเชา