ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: กันยายน 24, 2010, 10:00:28 am »

 :13: อนุโมทนาครับ ขอบคุณครับพี่แป้ง
ข้อความโดย: sasita
« เมื่อ: กันยายน 24, 2010, 08:52:22 am »

  อุบาสก
                   นิยมนั่งคุกเข่าหรือนั่งพับเพียบ ประนมมือเยื้องด้านใดด้านหนึ่งพอประมาณสนทนากับพระภิกษุเพื่อ
       แสดงถึงความเคารพ  หากกรณีจำเป็นเร่งด่วน เช่น ต้องการรายงานเรื่องต่าง ๆที่ไม่ต้องใช้เวลามากหรือไม่
       สะดวกที่จะนั่งอันอาจเนื่องมาจากพื้นที่ไม่อำนวยต่อการนั่งสนทนาก็ ให้ยืนประนมมือค้อมตัวด้วยท่าทางสุภาพ
       สำรวมท่วงท่ากิริยาสำรวม(ดังรูป)


   อุบาสิกา
                    นิยมนั่งคุกเข่า หรือนั่งพับเพียบ ประนมมือ เยื้องด้านใดด้านหนึ่งพอประมาณสนทนากับพระภิกษุ ไม่
       นิยมยืนสนทนาระยะในการนั่งควรเว้นช่วงห่างพอสมควร พอให้ได้ยินการสนทนาโต้ตอบอย่างชัดเจน (ดังรูป)



การรับสิ่งของจากสงฆ์


 ขณะพระยืนอยู่หรือนั่งบนอาสนะสูง

      ๑. เดินเข้าไปด้วยกิริยาอาการสำรวม ไม่เร็วหรือช้าเกินไป ให้ใกล้พอยื่นมือเข้าไปรับสิ่งของได้พอดีอย่างสบาย ๆ
      ๒. ยืนตรงน้อมตัวลงยกมือไหว้ และยื่นมือทั้งสองเข้าไปรับ พร้อมกับน้อมตัวลงเล็กน้อยสำหรับผู้ชายรับสิ่งของ
           จากมือพระภิกษุได้เลย ส่วนผู้หญิงแบมือทั้งสองชิดกันคอยรองรับสิ่งของที่พระภิกษุจะ (ปล่อยจากมือ) วาง
           ลงไป หรือรับของที่ท่านวางไว้บนผ้ารับประเคนที่ท่านจับอยู่
      ๓. เมื่อรับสิ่งของแล้ว ถ้าสิ่งของนั้นเล็ก นิยมน้อมตัวลงยกมือไหว้พร้อมกับสิ่งของในมือ ถ้าสิ่งของที่รับนั้นใหญ่            หรือหนักไม่ต้องยกมือไหว้ ให้ก้าวเท้าซ้ายถอยหลังออกไปหนึ่งก้าวชักเท้าขวามาชิดแล้วหันหลังเดินกลับไป ได้

ขณะพระสงฆ์นั่งเก้าอี้

  ๑. เดิน เข้าไปด้วยกิริยาอาการสำรวม เมื่อเข้าใกล้ประมาณ ๒ ศอก แล้วยืนตรง ก้าวเท้าขวาออกไปหนึ่งก้าว            แล้วนั่งคุกเข่าซ้าย ชันเข่าขวาขึ้น น้อมตัวยกมือไหว้ แล้วยื่นมือทั้งสองออกไปรับสิ่งของ
      ๒. เมื่อรับสิ่งของแล้ว ถ้าสิ่งของเล็ก นิยมน้อมตัวลงยกมือไหว้พร้อมกับสิ่งของที่อยู่ในมือ ถ้าสิ่งของใหญ่หรือ
           หนัก นิยมวางไว้ข้างตัวด้านซ้ายมือ น้อมตัวลงไหว้แล้วจึงยกสิ่งของนั้นด้วยมือทั้งสอง ชักเท้าขวากลับมา
           ยืนตรง ก้าวเท้าซ้ายถอยหลังไปหนึ่งก้าวแล้วชักเท้าขวาชิดหันหลังกลับเดินไปได้


ขณะพระสงฆ์นั่งกับพื้น

      ๑. เดินเข้าไปด้วยกิริยาอาการสำรวม เมื่อถึงบริเวณปูอาสนะไว้ นั่งคุกเข่าลงเดินเข่าเข้าไปเมื่อถึงที่ ประมาณ
          ศอกเศษ นั่งคุกเข่า (ตามเพศ) กราบ ๓ หน ยื่นมือทั้งสองออกไปรับของ
      ๒. เมื่อรับแล้วนิยมวางของไว้ด้านขวา กราบ ๓ ครั้ง แล้วหยิบสิ่งของนั้นถือด้วยมือทั้งสอง ประคองเดินเข่าถอยหลัง
           ออกไปจนสุดบริเวณปูอาสนะไว้ แล้วลุกขึ้นยืน
      ๓. การเดินเข่านิยมตั้งตัวตรง ถ้าไม่ถือของมือห้อยข้างตัว ถ้าถือของประคองไว้ระดับอกศอกทั้งสอง แนบชิด
           ชายโครง ร่างกายส่วนบนไม่โยกเอียงซ้ายขวา เคลื่อนไหวเฉพาะร่างกายส่วนล่าง เส้นทางเดินเข่านิยมให้
           ตรงทั้งเข้าไปและตรงออกมา



ที่มา http://www.kalyanamitra.org/culture/index27.html