ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: Plusz
« เมื่อ: ตุลาคม 08, 2010, 12:49:08 pm »


โตเกียว - ผลการศึกษาของคณะนักวิจัยชาวญี่ปุ่นพบว่า ผู้สูงอายุที่ดื่มชาเขียววันละหลายแก้ว มีแนวโน้มเกิดภาวะหดหู่ซึมเศร้าน้อยลง อาจเป็นเพราะชาเขียวมีสารที่ช่วยให้อารมณ์ดี
ผลการศึกษาของ ดร.ไคจุน นิอุ แห่งมหาวิทยาลัยโทโฮกุ และคณะ ที่ตีพิมพ์ในวารสารอเมริกัน เจอร์นัล ออฟ คลินิคัล นูทริชั่น ฉบับเดือน ธ.ค. พบว่า ผู้สูงอายุชายและหญิงอายุ 70 ปี หรือผู้อายุมากกว่านั้น ที่ดื่มชาเขียววันละ 4 แก้ว หรือมากกว่า มีแนวโน้มเกิดภาวะซึมเศร้าน้อยลงร้อยละ 44 เมื่อเทียบกับกลุ่มที่ดื่มชาเขียวในปริมาณน้อยกว่านั้น
จากการศึกษา ผู้สูงอายุทั้งชาย และหญิงสุขภาพดี 1,058 คน พบว่า ประมาณร้อย 34 ของผู้สูงอายุชาย และร้อยละ 39 ของผู้สูงอายุหญิง มีอาการซึมเศร้า นอกจากนี้ พบว่า ผู้ร่วมการศึกษา 488 คนบอกว่าดื่มชาเขียววันละ 4 แก้ว หรือมากกว่า และอีก 284 คนดื่มชาเขียววันละ 2-3 แก้ว ส่วนที่เหลือดื่มชาเขียววันละ 1 แก้วหรือน้อยกว่านั้น คณะวิจัยระบุว่า สรรพคุณของการดื่มชาเขียวในการบรรเทาภาวะซึมเศร้าไม่ได้ลดลงแม้จะใส่ปัจจัย ด้านสังคม เศรษฐกิจ เพศ อาหาร ประวัติปัญหาสุขภาพ และยาต้านอาการซึมเศร้าเข้าไปในการศึกษา ในทางตรงข้ามไม่พบความสัมพันธ์กันระหว่างการดื่มชาดำ ชาอู่หลง หรือกาแฟในการลดภาวะซึมเศร้า
ชาเขียวมีส่วนประกอบของ กรดอะมีโนธีอะนีน ซึ่งเป็นสารช่วยให้สมองผ่อนคลาย จึงอาจช่วยอธิบายผลด้านบวกที่ปรากฏในการศึกษาชิ้นนี้ ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาหลายชิ้นที่ระบุว่า การดื่มชาเขียวสัมพันธ์กับการช่วยผ่อนคลายปัญหาด้านจิตใจ อย่างไรก็ดี คณะนักวิจัยจะต้องศึกษาเพิ่มเติมเพื่อยืนยันว่าการดื่มชาเขียวในปริมาณที่ มากขึ้นช่วยต้านภาวะซึมเศร้าได้จริง