ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: ตุลาคม 14, 2010, 11:13:53 pm »

 :13: อนุโมทนาครับ ขอบคุณครับพี่แป๋ม
ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: ตุลาคม 14, 2010, 06:54:54 am »



   โอวาท ท่านปรมาจารย์ ตั๊กม้อ

   สังฆปรินายกองค์ที่ ๒๘ แห่งชมพูทวีป
   และเป็นองค์ที่ ๑ แห่งจีน สมัยราชวงศ์ซ่ง

   เป็นโอรสองค์ที่ ๓ ของกษัตริย์พรามหณ์ในอินเดีย สมัย พ.ศ.๕๐๐,๖๐๐
   “ผู้ยิ่งใหญ่ แห่ง วัดเส้าหลิน”
   

   ๑. ...เมื่อละทิ้งความคิดเพ้อเจ้อ ใจย่อมสุขสงบเองตามธรรมชาติ...
       “ใจสงบก็คือ ความรู้สึกเหมือนหินตกลงบนพื้นโลกอันกว้างใหญ่”   

   ๒. “...อย่าดำรงชีวิต โดยเกาะแน่นกับความกลุ้มใจเด็ดขาด...”   

   ๓. หลักแท้ในการวิปัสสนาญาณ ต้องมีปัญญาคอยกำกับ และต้องปฏิบัติ
   ตามหลัก ๔ ประการขณะบำเพ็ญ คือ

      ๑. ชดใช้บาป
      ๒. ตามลิขิตกรรม
      ๓. ไม่แสวงหาสิ่งใด
      ๔. ยึดถือธรรม   

   ๔. ... ผจญทุกข์ไม่บ่น รับไว้โดยเต็มใจ...   

   ๕. ถ้าใจเกิดความละโมบ... ทุกข์จะตามมาทันที   

   ๖. “...จิตเดิมแท้นั้นคือธรรม...ต้องละทิ้งความคิดเพ้อเจ้อ
        ตั้งหน้าปฏิบัติธรรมสู่ความว่าง ละทิ้งใจที่ตระหนี่ถี่เหนียว”   

   ๗. สวรรค์และนรกต่างก็อยู่ทใจ...อย่าดื้อรั้นถือตัวจนเกินไป !...   

   ๘. หลงและตื่นตัว เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน... ถ้าไม่หลง ก็ไม่สำนึก !...
   
   ๙. “ให้เข้าใจความว่าง แต่อย่าหลงความว่าง... ไม่ยึดมั่น ใจจึงว่าง”   

   ๑๐. “มองดูทุกสิ่งทุกอย่างที่ผ่านไปในอดีต เหมือนภาพในความฝัน...
         มองดูทุกสิ่งทุกอย่างในปัจจุบัน เหมือนเป็นฟ้าแลบ...
         มองดูทุกสิ่งทุกอย่างในอนาคต เหมือนเมฆหมอกที่ล่องลอยอยู่ไปมา”   

   ๑๑. ..อารมณ์ความคิดทั้งหลายก็ล้วน เกิดดับ...   

   ๑๒. “ไม่ยึดมั่นในเรื่องได้เสีย จิตที่เป็นทุกข์ จะเป็นอิสระ”   

   ๑๓. “ดำรงชีวิตด้วยใจอิสระ ไม่ถูกความ อยาก ควบคุม...”   

   ๑๔. “มองเห็นจิตเดิมแท้ของตน” ...นี่คือจุดหมาย  ของวิปัสสนาญาณ
 
          ๑๕. ถ้าเราสำคัญ สิ่งใด เป็นสิ่งดีและเข้าใกล้มัน ใจเรา เริ่มเอียงเอน แล้ว...   

   ๑๖. ..สนใจธรรมมากเกินไป ย่อมผูกมัดตนเองไม่มี อิสระ...   

   ๑๗. นักปราชญ์ผู้สร้างประโยชน์แก่มนุษย์ รู้ว่า ใจ คือธรรม...
         ...แต่คนโง่เที่ยวแสวงหาธรรม ไปในที่ต่างๆ อย่างไร้จุดหมาย
   
   ๑๘. “ใจคือพระธรรม...ดังนั้นจึงไม่ต้องไปหาพระธรรมนอกใจ”
   
   ๑๙. “ถ้าคิดที่จะปฏิบัติธรรม...ต้องพัฒนาจิตใจให้ยิ่งใหญ่
         เกรียงไกรและต้องวางใจไว้นอกเหนือกฎเกณฑ์
         ที่มีเขตจำกัด...”   

   ๒๐. ...ไม่สนใจจุดยืน ไม่เป็นผู้ยึดมั่นใดๆ ทำใจสงบสุข   

   ๒๑. “เพียงอาศัยคำสอน ของผู้มีชื่อเสียง ไม่ใช่สัจธรรมแท้...
   
   ๒๒. ...ยึดมั่นในความคิดของตนเกินไป จะไม่สามารถ เข้าถึงพุทธธรรม
   
   ๒๓. “รวมทุกข์ กับสุข เป็นอันหนึ่งอันเดียว...นั่นคือ หนทางแห่งพุทธธรรม”
   
   ๒๔. เห็นสรรพสิ่ง แต่ใจไม่หวั่นไหวสับสน ใจไม่ฟุ้งซ่าน...
   
   ๒๕. ...แท้จริง “เกิดกับตาย คือนิพพาน” ซึ่งอยู่  ณ กลางใจ...

http://agaligohome.fix.gs/index.php?topic=218.0