ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: ตุลาคม 24, 2010, 03:00:32 am »

 :13: อนุโมทนาครับพี่แป๋ม^^
ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: ตุลาคม 21, 2010, 07:44:08 pm »




พระสูตรสมานใจ

โสกะ หรือ ความเศร้า หมายถึง ความโศกเศร้าในกริยาที่เศร้าโศก
ความเป็นผู้เศร้าโศก ความที่จิตเศร้าโศก ความเศร้าโศกภายในใจ
ความเร่าร้อนในภายใน ความตรมตรอมแห่งจิต ความเผาจิต

ความเสียใจ  เมื่อความเศร้าอันเปรียบประหนึ่งลูกศร
ได้ทิ่มแทงในใจของผู้ใดแล้ว อาการย่อมเป็นไปได้ต่างๆ ...

ความโศกย่อมเกิดแต่ของที่รัก  ภัยย่อมเกิดแต่ของที่รัก 
ความโศกย่อมไม่มีแก่ผู้ปลดเปลื้องได้จากของที่รัก  ภัยจักมีแต่ที่ไหน.

ความโศกย่อมเกิดแต่ความรัก  ภัยย่อมเกิด แต่ความรัก ความโศกย่อมไม่มี
แก่ผู้พ้นวิเศษ แล้วจากความรัก ภัยจักมีแต่ที่ไหน.


ความโศกย่อมเกิดแต่ความยินดี ภัยย่อมเกิดแต่ความยินดี ความโศกย่อม
ไม่มีแก่ผู้พ้นวิเศษแล้ว
จากความยินดี  ภัยจักมีแต่ที่ไหน

ความโศกย่อมเกิดแต่กาม ภัยย่อมเกิดแต่กาม ความโศกย่อมไม่มีแก่บุคคล
ผู้พ้นวิเศษแล้วจากกาม ภัยจักมีแต่ที่ไหน.

ความโศกย่อมเกิดเพราะตัณหา ภัยย่อมเกิดเพราะตัณหา ความโศกย่อม
ไม่มีแก่ผู้พ้นวิเศษแล้วจากตัณหา  ภัยจักมีแต่ที่ไหน.

(สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท)



แม้แท้จริงแล้ว เหตุของความเศร้าจะสรุปรวมได้อยู่ที่
“เราไม่ได้ในสิ่งที่อยากได้ ” หรือ “ เราได้ในสิ่งที่ไม่อยากได้ ” 

แต่เราก็ไม่สามารถถอนความเศร้านั้นออกจากใจได้โดยง่าย...   
เรามาลองเสียเวลาสักนิด อ่านและพิจารณาตามเรื่องราวต่างๆ
จากพระไตรปิฎกๆ ซึ่งดึงมาเพื่อเป็นตัวอย่างช่วยคิด
และหวังว่าบางเรื่องบางตัวอย่างจะช่วยให้เราๆ ท่านๆ หลุดหรือถอนตัวเอง
ออกจากความเศร้าได้



http://www.kaowjai.com/index.php?option=com_content&task=category&sectionid=7&id=64&Itemid=186