ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: ตุลาคม 28, 2010, 07:17:28 pm »

 :13: อนุโมทนาสาธุครับพี่แทน ^^
ข้อความโดย: แปดคิว
« เมื่อ: ตุลาคม 28, 2010, 06:41:24 pm »


ครั้งหนึ่งพระโพธิสัตว์เสวยชาติเป็นพระยากา อาศัยอยู่ในป่าช้าใกล้เมืองพาราณสี วันหนึ่งอาจารย์ของกษัตริย์ อาบน้ำเสร็จแล้วกลับเข้าพระนคร มีกาอยู่ ๒ ตัวเกาะอยู่ที่ซุ้มประตู ตัวหนึ่งบอกว่าจะถ่ายอุจจาระใส่ศีรษะ อีกตัวหนึ่งก็ห้ามว่า อย่าไปทำอย่างนั้นคนนี้เป็นอาจารย์ใหญ่ เราจะมีภัยใหญ่เดือดร้อน กาตัวนั้นก็ไม่เชื่อ เมื่ออาจารย์เดินมาก็อุจจาระใส่ศีรษะ อาจารย์ก็โกรธผูกพยาบาทไว้ว่าถ้าถึงโอกาสเมื่อไรก็จะฆ่ากาให้หายแค้น

ต่อมาไม่นานก็มีเรื่อง หญิงคนหนึ่งตากข้าวเปลือกไว้ แล้วมีแพะตัวหนึ่งจะมากินข้าวเปลือก หญิงจึงตีด้วย ไม้ฟืนติดไฟ ไฟก็ไหม้ติดขนแพะ แพะร้อนก็วิ่งไปชนโดนกระท่อมหญ้าใกล้โรงช้าง และในที่สุดช้างก็ได้รับ บาดเจ็บจากไฟเป็นแผล ช้างนั้นเป็นช้างของพระราชา นายคราญช้างจึงทูลแก่พระเจ้าพาราณสี   พระองค์จึง ตรัสถามอาจารย์ว่าจะรักษาแผลให้หายได้อย่างไร อาจารย์ได้โอกาศจึงทูลว่า เอามันเหลวจากกามาทำยาก็ สามารถรักษาได้ ราชบุรุษจึงไปฆ่ากาตายมากมาย

พระยากาโพธิสัตว์รู้สาเหตุก็คิดสงเคราะห์หมู่ญาติให้พ้นภัย พระยากา ก็ระลึกถึงบารมีที่บำเพ็ญมา แผ่เมตตาแก่พระราชาและราชบุรุษ อธิษฐานแล้วก็บินเข้าไปในวังหลวง ราชบุรุษก็ไม่กล้าทำร้ายพระยากา เมื่อไปถึงในวังเข้าเฝ้าพระราชาทำความเคารพ และเกาะอยู่ในที่อันควรแล้ว แล้วพูดว่า พระมหากษัตริย์นั้น ย่อมตั้งอยู่ในทศพิธราชธรรม ๑๐ ประการ และละเสียซึ่ง อคติทั้ง ๔ คือ ฉันทา โทสา ภยา โมหา อย่าให้มีในสันดาน จึงจะได้ชื่อว่า พระมหากษัตริย์อันประเสริฐ บัดนี้พระองค์เชื่อคำอาจารย์ อันเป็นคนพาลพยาบาท ผูกเวรกับกา จึงทูลว่ากามีมันเหลวด้วยโทสาคติ พระยากาจึงเทศนาว่า ธรรมดากาแล้ว ไม่มีมันเหลวมาแต่โบราณ ด้วยเหตุ ๒ ประการ คือ กามีความสะดุ้งอยู่เป็นนิตย์ และมนุษย์ทั้งหลายคอยเบียด เบียนเป็นนิตย์ กาจึงไม่มีมันเหลว กาไม่มีมันเหลวแต่ในปัจจุบันนี้ก็หาไม่ ในกาลก่อน ๆ ก็ไม่มีมันเหลวเหมือนกัน หรือจะไปข้างหน้านันมันเหลวแห่งกาก็ไม่มี พระเจ้าพาราณสีได้ทรงฟังธรรมแห่งพระโพธิสัตว์ตรัสเทศนา ก็สิ้น กังขามันเหลวแห่งกา พระองค์จึงทำสักการะบูชาพระธรรมเทศนาของพระโพธิสัตว์ ด้วยสมบัติสิ้นทั้งเมือง พระยากายินดีกลับถวายสมบัติคืน แล้วก็ให้พระมหากษัตริย์ รักษาศีล ๕ ประการ เป็นวิรัติเจตนาสมาทานสุจริต มิได้คิดประทุษร้ายแก่สัตว์ทั้งหลาย ตั้งอยู่ในขันติและเมตตาเป็นประธาน เมื่อสอนพระราชาให้รักษาศีล ๕ แล้ว จึงทูลขออภัยให้แก่กาทั้งหลาย พระองค์จึงเสนาข้าหลวงไม่ให้ฆ่ากาทั้งหลาย ตั้งแต่นั้นมากาก็สบาย พระราชา พระราชทานข้าวคลุกด้วยเนื้อปลาแก่กาทุกวัน และพระราชทานอาหารเหมือนกับที่พระองค์เสวยแก่พระยากา

นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้จักเมตากรุณาสงเคราะห์ญาติ บุคคลผู้สงเคราะห์ญาตินั้น จะยังตระกูลให้เจริญรุ่งเรือง
http://www.dhammathai.org/dhammastory/story16.php