ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: พฤศจิกายน 01, 2010, 10:15:44 pm »

 :13: ขอบคุณครับพี่มด อนุโมทนาสาธุครับผม
ข้อความโดย: มดเอ๊กซ
« เมื่อ: พฤศจิกายน 01, 2010, 09:30:40 pm »



Self Dialogue ฟังตนเองตามความเป็นจริง  อย่าหลอกตนเอง ไม่มีอคติ ไม่มีลำเอียง

ฟัง "กาย เวทนา จิต ธรรม" ของเรา

Self Dialogue

                การคุยกับตนเอง อย่างแยบคาย     ลองหาเวลาว่างสักสองสาม นาที   ทบทวนตนเอง คุยกับตนเอง  Self Dialogue ได้แก่  สนทนาภายใน และ ภายนอก

                ภายใน คือ ทบทวนพันธกิจ ในการเดินทางในวัฏสงสารของเรา   และ  ลองฟังอวัยวะต่างๆในร่างกายของเรา  ฟังเวทนา  ฟังจิตใจ อารมณ์  ฟังความคิด  ฟังธรรมต่างๆที่ปรากฏบนกายของเรา ใจของเรา 

                ภายนอก คือ หน้าที่การงาน ความรับผิดชอบ ครอบครัว ชุมชน มนุษยชาติ ฯลฯ

Self Dialogue  ภายใน

1.       เกิดมาทำไม  กำลังเดินทางไปไหน  เป้าหมาย พันธกิจ (mission) คืออะไร    ใครเป็นเพื่อนร่วมเดินทาง  ใครเป็นกัลยณมิตร  (สังฆะ หรือ refugee อพยพจากวัฏสงสาร)   ใครเป็นคุรุ (guru) ของเรา   เรามีบารมีอะไรที่ยังต้องสะสม เรียนรู้บ้าง ( บารมี ๑๐  เช่น ทาน  วิริยะ  ขันติ  ศีล ฯลฯ )

2.       ร่างกายของเรา  อวัยวะต่างๆจะ ฟ้องเราหรือยังว่า เจ็บไข้ได้ป่วย ใช้งานมาก  เครียดจนความดันขึ้น   ฯลฯ  บ่อยครั้ง อวัยวะเตือนเรา ส่งสัญญาณว่า แย่แล้ว แย่แล้ว   แต่เราก็ดันทุรังใช้งานแบบรู้เท่าไม่ถึงการณ์    ผมของเชิญเชิญให้ลองฝึกรำมวยจีน หรือ ออกกำลังกายให้สม่ำเสมอ 

3.       การฟัง หรือ จะใช้คำว่าการดู ก็ได้   ในที่นี้ คือ การรู้เท่าทัน  “กาย เวทนา จิต ธรรม”   ซึ่งก็คือ มีสติ   ลองฝึกรู้เท่าทันความคิด   รู้เท่าทันความคิดที่เข้าทำให้เกิดอารมณ์มันก่อตัวขึ้นมาได้อย่างไร    รู้เท่าทันความคิดที่ออกมาจากจิตใจที่ผิดปกติ    ลองฝึกไม่ให้ความคิดและจิตมีอิทธิพลต่อกัน ฝึกให้ชำนาญก็จะไปถึง มหาสติ ฯ     

 

Self Dialogue ภายนอก      ซึ่งบางที ฝรั่งเรียกว่า Review    ทบทวน วันละ 2 นาที  (Two minutes management)  มีเวลาทบทวนแค่ 2 นาที  ก็ถือว่าดีกว่า ไม่ได้ทบทวนเลย   

ในขณะที่ทบทวน   เราจะมี ความกลัว ความไม่อยากจะทบทวน  ความผลักไส รังเกียจ  เลือกเรื่องที่จะทบทวน ฯลฯ    หากเป็นเช่นนี้  ก็จงหายใจลึกๆ   ดีดนิวรณ์ออกไป     

บางทีร่างกายเราไม่แข็งแรง จิตใจเราจึงไม่สดใส    ถ้าพิจารณาในแง่แพทย์ตะวันออก  เช่น  กลัว มาจาก ไตไม่ดี   โกรธง่ายมาจากตับไม่ดี  อิจฉา มาจากหัวใจไม่ดี   กังวล มาจากม้ามไม่ดี   หดหู่ มาจาก ปอดไม่ดี   ผมก็ขอแนะนำ ให้  ฝึกรำมวยไท้เก็ก


หลักการ มวย Tai Chi   ได้กล่าวถึง การฟัง เข้าใจ หล่อเลี้ยง

ฟังแรง (ที่คนร้าย ทำร้ายเรา)    เข้าใจแรง และ หล่อเลี้ยง (นัวเนีย พัวพัน ดูแล ไม่ทำร้ายตอบ)

เราประยุกต์มาใช้ กับ การทำงาน กับครอบครัวได้  เวลา โดน กระแทกแรงๆ  จาก คนรอบข้างเรา

 

**** สรุป การสอน ที่  บ ซันฟู๊ด    Sunfood


http://gotoknow.org/blog/ariyachon/284466