ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: พฤศจิกายน 20, 2010, 12:22:26 am »

 :45: ขอบคุณครับพี่มด
ข้อความโดย: มดเอ๊กซ
« เมื่อ: พฤศจิกายน 19, 2010, 03:29:24 pm »

ในวง KM ที่พูดจากันไม่ได้นาน บางทีเป็นเพราะติดคำเหล่านี้มากจนเกินไป อาทิเช่น คำว่า “ Best Practice, Tacit Knowledge, CoP, Lesson Learned เป็นต้น คำเหล่านี้เป็นสิ่งที่ใช้กันบ่อยในวงการ KM ถ้าเข้าใจตรงกันก็ดีไป ไม่ต้องพูดอะไรมาก ก็รู้กันว่าหมายถึงอะไร แต่ก็มีบ่อยเหมือนกันที่ผมพบว่าการใช้คำเหล่านี้ ทำให้การสื่อสารไปไม่ถึงไหน เกิดการถกเถียงกันยกใหญ่ จนถึงขั้นทำให้ “วงแตก” ก็มี นี่คือ “ตัวชี้วัด” ที่ชัดเจนว่า คนเหล่านี้ยังไม่เข้าใจเรื่อง KM ดีพอ คือ KM ยังไม่ได้ซึม “เข้าไปในใจ” ทำให้มีข้อโต้เถียงขึ้นมา


             สำหรับผู้ที่ KM ซึม “เข้าไปในใจ” แล้ว พวกเขาจะเป็นผู้ที่ตั้งใจฟัง ฟังว่าที่คนๆ นั้น ใช้คำๆ นี้ เขาหมายถึงอะไรกัน เพราะนั่นคือจุดมุ่งหมายของการใช้ภาษาไม่ใช่หรือ? ก็เพื่อสื่อสารให้เข้าใจกัน แล้วทำไมยังอดไม่ได้ที่จะฟังไปเปรียบเทียบไป พอเห็นว่าคำที่ได้ฟังมายังไม่ตรงกับความหมายที่อยู่ในใจข้า ข้าก็รับไม่ได้ ต้องถกเกียงกันให้กระจ่างว่า “ใครถูกใครผิด” แทนที่จะพยายามฟังว่าที่เขาพูดคำนั้นออกมาเขาหมายถึงอะไร ซึ่งถ้าหากตัวท่านเข้าใจก็ถือว่าจบ มันก็เท่านั้น !



             เพื่อที่จะให้ท่านผู้อ่านเห็นภาพที่ชัดเจนขึ้น ผมจะลองยกตัวอย่างคำๆ หนึ่ง ซึ่งมีผู้พยายามจะถกเถียงกับผม คำๆ นั้นก็คือคำว่า “Lesson Learned” ผมใช้คำๆ นี้ตอนที่อธิบายเรื่องการแชร์ Tacit Knowledge ว่าเราสามารถแชร์ได้ ทั้ง Success Case และ Lesson Learned ความหมายที่ผมใช้ก็คือการแชร์ Success Case หมายถึงการเล่ากรณี "ความสำเร็จ" ที่ผ่านมา เพราะว่าในนั้นถ้าฟังดีๆ จะเห็นว่ามีความรู้ (Tacit) แฝงอยู่ ส่วนการแชร์ Lesson Learned นั้นผมหมายถึงการที่เราสรุปบทเรียนจาก “ความผิดพลาด” ในอดีต ใช้มันเป็นครู เป็นความรู้ที่สอนเราได้



             แต่กลายเป็นว่าผู้ที่ได้ฟังสิ่งที่ผมอธิบายเกิดอาการ “ไม่เห็นด้วย” ขึ้นมา ท่านอธิบายว่าตามที่ท่านเข้าใจมาคำว่า Lesson Learned ไม่ได้จำกัดอยู่แต่ในเชิงลบเท่านั้น Success Case ก็เป็น Lesson Learned เหมือนกัน ซึ่งผมฟังแล้วก็เข้าใจท่าน แต่ในภาวะนั้นผมคือผู้ที่ส่งสาร (ตามความหมายที่ผมต้องการจะใช้) แล้วทำไมท่านต้องมา "ยัดเยียด" ความหมายของท่านให้ผมด้วย จะดีกว่าไหมแค่ท่านทำความเข้าใจในสิ่งที่ผมสื่อออกไป  ที่ผมสื่อออกไปเช่นนั้นเป็นเพราะผมต้องการจะแยกเรื่องการแชร์ความสำเร็จกับความล้มเหลวออกจากกัน เพื่อจะได้อธิบายให้ผู้ฟังเห็นว่าถ้าเป็นไปได้อยากจะแนะให้ลองแชร์ Success Case ก่อน เพราะเป็นเรื่องที่ทำได้ง่ายกว่าการแชร์ Lesson Learned ที่ต้องอาศัยการสร้างความไว้วางใจในระดับที่สูงกว่าการแชร์เรื่องธรรมดาทั่วไป



             สรุปว่า นักเรียน KM ต้องไม่ติดยึดใน “สมมติ (ภาษา)” มากจนเกินไป เรื่องคำที่เราใช้ มันอาจจะมีความหมายที่แตกต่างกันไปบ้าง ขอเพียงแค่เราตั้งใจฟังกัน เราก็เข้าใจกันได้ โดยไม่จำเป็นต้องไปยัดเยียดนิยามความหมาย (ตามที่เราเข้าใจ) ให้ใครต่อใครเหมือนที่เราชอบทำ เพียงแค่เราฟังแล้วรู้ว่าผู้ที่สื่อหมายถึงอะไร แค่นี้ก็ถือว่าได้สื่อสารกันสัมฤทธิ์ผลแล้ว . .  ไม่ใช่หรือครับ





http://gotoknow.org/blog/beyondkm/401862