ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: พฤศจิกายน 21, 2010, 01:32:01 am »

 :45: ขอบคุณครับพี่เอก
ข้อความโดย: คนหนึ่งคน
« เมื่อ: พฤศจิกายน 21, 2010, 12:13:46 am »

OPEN FORUM: Design for Disasters Relief  การออกแบบเพื่อฟื้นฟูเหตุภัยพิบัติ
เวลา: 14.00 - 16.00 น. | วันอาทิตย์ที่ 21 พ.ย. 2553
สถานที่: ห้องออดิทอเรียม ชั้น 5 หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร (BACC)

เปิดเวทีสำหรับแลกเปลี่ยนความคิดและข้อเท็จจริง เกี่ยวกับเหตุภัยพิบัติ
การทำงานเชื่อมโยงกันระหว่างองค์กรเกี่ยวข้อง เช่น สถาปนิกสยาม (อาษา)
สมาคมวิศวกรรมสถาน (วสท.) สมาคมสถาปัตภูมิศาสตร์ เครือข่ายอาสาช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ (THAIFLOOD)
สถาปนิกอาสามหาวิทยาลัย ชุมชนไท กลุ่ม Design for Disasters
ตลอดจนบุคคลธรรมดาที่ให้ความสนใจและอยากมีส่วนร่วมในประเด็นต่างๆ

CORPORATION: Design for Disasters Relief
การออกแบบเพื่อฟื้นฟูเหตุภัยพิบัติ - การทำงานร่วมกัน

เวลา: 18.00 - 20.00 น. | วันอังคารที่ 23 พ.ย. 2553
สถานที่ : ห้องออดิทอเรียม ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC) ชั้น 6 ดิ เอ็มโพเรียม ช็อปปิ้ง คอมเพล็กซ์

หลังจากการเปิดเวทีแลกเปลี่ยนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความเสียหายจากภัยพิบัติ
ตัวแทนทำงานในแต่ละส่วนจะแจกแจงรายละเอียดในเชิงลึกโดยเริ่มวางแผนแบ่งงาน
ตามความถนัดของแต่ละหน่วยงานที่สนใจมีส่วนร่วมในโครงการ "การออกแบบเพื่อฟื้นฟู เหตุภัยพิบัติ"   


เปิดเวทีสำหรับแลกเปลี่ยนความคิดและข้อเท็จจริง มีประเด็นต่างๆ ดังนี้

•   เหตุภัยพิบัติ (จากธรรมชาติ-สิ่งที่เกิดจากมนุษย์เรา)
เล่าเรื่องถ่ายทอดโดยคุณ วิภาวี  คุณาวิชยานนท์ Design for Disasters

•   วิกฤตที่ทุกคนออกมาช่วยกัน 
โดยคุณ เทียนชัย ชมเชย สถาปนิกอาสาที่ลงพื้นที่จริง
โดยมรว.เฉลิมชาตรี ยุคล (อาดัม) ลงพื้นที่จริง  20 จังหวัด
โดยคุณ ปรเมศร์ มินศิริ ผู้ริเริ่มเครือข่ายอาสาช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ (THAIFLOOD) เล่าให้เราเข้าใจถึง โครงสร้างแบบใยแมงมุม – ไม่มีแกนกลางเพื่อการทำงานที่คล่องตัวของทุกฝ่าย

•   การออกแบบเพื่อฟื้นฟูเหตุภัยพิบัติ
เล่าผ่านสายตาและความทึ่งของ ศิรินันต์ สุวรรณโมลี ศูนย์อาสาสมัครประชาชนฟื้นฟูภัย 
พิบัติ เช่น แคร่ไม้ไผ่นั่งเล่น กลายเป็นเรือขนเสบียงช่วยเหลือ รถไถ่นา ไม่ต้องกลัวเปียก (ยังไงก็เปียก)

•   บทเรียนต่างๆจากสึนามิ กับเหต์การณ์น้ำท่วม
เล่าประสบการณ์ตรงโดย ปรีดา คงแป้น ผู้จัดการมูลนิธิชุมชนไท ทำงานร่วมกับชุมชน

•   เปิดเวทีให้ผู้มีประสบการณ์ และผู้ที่อยากมีส่วนร่วม แลกเปลี่ยนความคิดที่เกี่ยวกับเรื่องเหตุภัยพิบัติ / การเตีรยมตัวรับมือเหตุภัยพิบัติ ในอนาคต ฯลฯ

 *** ผู้แลกเปลี่ยนกรุณาช่วยกันคุมเวลา ประมาณ 10 - 20 นาที หากมีรูปภาพสไลด์ประกอบเพื่อช่วยถ่ายทอดเนื้อหาประเด็นได้ชัดเจน
และเป็นประโยชน์ในการทำงานเชื่อมต่อกัน ***