ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: ธันวาคม 14, 2010, 01:40:01 am »

 :13: ขอบคุณครับพี่มด
ข้อความโดย: มดเอ๊กซ
« เมื่อ: ธันวาคม 13, 2010, 05:23:44 pm »

รวี แชงการ์ (Ravi Shankar) ปรามาจารย์ซีตาร์ (Sitar) ผู้ยิ่งใหญ่ชาวอินเดีย


 

รวี แชงการ์ (Ravi Shankar) ปรามาจารย์นักซีตาร์ (Sitar) ผู้ยิ่งใหญ่ชาวอินเดีย
                                                                         

    รวี แชงการ์ (Ravi Shankar)  นักซีตาร์ผู้ยิ่งใหญ่ ประดุจดังดวงอาทิตย์แห่งแดนภารตะ

สมกับคำว่า รวี  রবি শঙ্কর Robi Shôngkor  ซึ่งเป็นภาษาเบงกาลี แปลว่า ดวงอาทิตย์ รวี แชงการ์

ฝึกเล่นดนตรี  แนวอินเดียจากพื้นฐานทางบ้านและต่อมาก็ศึกษาจาก Hindustani classical
 
music

    ประวัติ ท่านรวี เป็นภาษาไทย นี่ไม่ค่อยมีนะครับ รู้สึกผู้ที่เคยเขียน ประวัติคร่าวๆ

น่าจะเป็น " สิเหร่"  คุณ จิรภัทร อังศุมาลี และ คุณ วิรัตน์ โตอารีย์มิตร แต่เป็นประวัติ

นภาพกว้าง แต่ประวัติของท่านในภาษาต่างประเทศมีมาก ซึ่งไม่ค่อยมีเวลาแปลมาก

และความที่ไม่ค่อยชำนิ ชำนาญด้านภาษาต่างชาติ แต่ก็พอจะแปลได้โดยรวม

    สรุป รวมๆ ว่า ท่านรวี แชงการ์ ผู้นี้ เป็นปรมาจารย์ ทางซีตาร์ ที่ทำให้ จอร์จ

แฮริสัน แห่ง เดอะ บีทเทิลคลั่งแทบเสียสติมาแล้ว อันเนื่องความประหลาดในเสน่ห์ของ

เสียงซีตาร์ ทำให้ จอร์จ แฮริสัน ถึงกับอุทิศตนแก่ ตรีมูรติ พระเจ้าแห่งศาสนาฮินดู เลยทีเดียว

และ จอร์จ แฮริสัน นี่เองที่นำพาให้คนทั้งโลก รู้จัก เครื่องดนตรีของอินดีย ชิ้นนี้ โดยการนำ

ท่านรวี แชงการ์ ออกรายการเพลงในสมัยนั้น และสร้างความทึ่งในเสียงดนตรี
 
อันเหมือนจะเปล่งออกมาจากสรวงสวรรค์ก็มิปาน


        
และท่าน รวี แชงการ์ ผู้นี้เองเป็นพ่อบังเกิดเกล้า ของ นอร่าห์ โจนส์ นักร้องสาวแนวแจ๊ส
ผู้โด่งดังว่ากันว่า
 
    "หากพระเจ้าสร้างเสียงของซีตาร์อันครอบคลุมอารมณ์ของปุถุชน ให้แก่ รวี

แชงการ์ พระเจ้า ก็สร้างเสียงร้องอันไพเราะเพราะพริ้งที่พร้อมจะสะกดทุกอารมณ์

ของผู้ฟัง แก่ นอร่าห์ โจนส์ เช่นกัน "

นอร่าห์  โจนส์
      ซึ่งนอร่าห์ โจนส์ นั้นเป็นลูกของ ซู โจนส์ ผู้เป็นแม่ และความสัมพันธ์

ระหว่าง ซู โจนส์ กับ ท่าน รวี แชงการ์ ก็ยังเป็นที่สงสัยกันทั่วทั้งโลกว่า

สองคนมีความสัมพันธ์กันตอนใหนรู้เพียงแต่ รวี อยู่ในสหรัฐตอนนั้น

จนกระทั่ง ซู โจนส์ให้กำเนิด นอร่าห์ โจนส์ขึ้นมา มิเท่านั้นปัจจุบัน น้องสาว ต่างแม่ของเธอ

anoushka shankar   อนุชกา แชงการ์ ก็เพิ่งออกอัลบั้มมาเช่นกัน

และ นอร่าห์ โจนส์ เธอ ยังมาร้องเพลงในชุดนี้ด้วย
                 
อนุชกา แชงการ์
         รวี แชงการ์ เล่น ซีตาร์ เพื่อ สิ่งใด ไม่มีใครทราบเป้าประสงค์ที่แท้จริง เพียงแต่ละบทเพลง

นั้นล้วนจะออกแนวการเรียกร้องสันติภาพ แก่โลก และสะท้อนภาวะไร้ระเบียบของผู้คน

ในยุคสมัยใหม่

    เสียงซีตาร์ ของ รวี แชงการ์ ไม่ใช่เป็นแนวดนตรีที่ฟังเพื่อความผ่อนคลาย อย่างแน่นอน เพราะ

อารมณ์เพลงนั้นค่อนข้างเครียดและขรึมขรัง ซึ่งคงจะเป็นความแน่วแน่ในแนวทางการเล่น

ของรวี แชงการ์ เอง และการฟังเพลงซึ่งบรรเลงโดยซีตาร์นั้น เหมาะสำหรับ ผู้เป็นนักดนตรี

ที่ต้องการหาเสียงที่แปลกเปล่งออกไปมากกว่า หากจะฟังเพื่อผ่อนคลายอารมณ์ คงไม่ใช่แน่นอน
 

     
 รวี แชงการ์ มีผลงาน เพลง เช่น
 
        Three Ragas (1958)
 
        India's Master Musician (1963)
 
      The Sounds of India (1968)
 
และ  แสดงสดในงานมหกรรมดนตรีของโลกWoodstock Festival (1969)
 
 

      ผู้ที่ต้องการแนวเพลงที่แปลกแตกต่างจากเพลงตลาดโดยสิ้นเชิงน่าจะลองหามาฟัง เพื่อความ

แปลกแห่งการรับอารมณ์ หากจะให้ดี ก็จุดกำยานบูชา เพื่อ ให้เข้ากับดนตรีแบบอินเดียๆ ครับ

 


ฟังเพลง ของ รวี แชงการ์
 
http://img124.imageshack.us/my.php?image=hifias7dcw8.swf
 
เว็บไซต์ของ รวี  แชงการ์
 
http://www.ravishankar.org/
 

ชม ราวี แชงการ์ กับ การบรรเลงซีตาร์ โดย การแนะนำของ จอร์จ แฮริสัน แห่ง The Beatle
 
Ravi Shankar on the Dick Cavett Show
 

   ภาพ จาก อินเตอร์เน็ต