ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: ธันวาคม 18, 2010, 11:24:11 pm »

 :13: อนุโมทนาครับ


บางครั้งสิ่งเล็กๆ ก็ ก่อ เหตุอันมิควรได้ครับ นานาจิตตัง
ในโลกนี้ สิ่งผิดถูกอยู่ที่เราทั้งสิ้นครับ ใจเราเป็นเหตุแห่งการพิจราณาทั้งปวง
ข้อความโดย: ซุปเปอร์เบื๊อก
« เมื่อ: ธันวาคม 18, 2010, 10:33:44 pm »

พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๕ - หน้าที่ 344

         บทว่า  โจเร  ได้แก่   ขโมย

พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสด้วยอำนาจคำอันอุกฤษฏ์ว่า  ในโลกพร้อมทั้งพรหมโลก
อธิบายว่า  ในโลกทั้งปวง.

         จริงอยู่    พวกผู้ร้ายทำการตัดที่ต่อ    การปล้นสดมภ์   การปล้นเรือน
หลังเดียว   และการดักปล้นในหนทางเป็นต้นแล้ว   ปล้นทรัพย์ของคนเหล่าอื่น
ท่านเรียกว่า  โจร ในโลก พวกบรรพชิตปล้นปัจจัยเป็นต้น  ด้วยบริษัทสมบัติ
เป็นต้น  ท่านเรียกว่า  โจร  ในพระศาสนา.   สนดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า

                                          [มหาโจร]

         ๑.  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย   มหาโจร ๕ เหล่านี้    มีอยู่     ปรากฏอยู่ใน
โลก ๕ เป็นไฉน   คือ  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย   มหาโจรบางคนในโลกนี้   คิด
อย่างนี้ว่า   ชื่อในกาลไหนหนอ   เราผู้อันบริวาร ๑๐๐ คน   หรือ ๑,๐๐๐ คน
แวดล้อมแล้ว   จักเที่ยวไปในคาม  นิคม  และราชธานี  ฆ่าเอง   ให้ฆ่า   ตัดเอง

 พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๕ - หน้าที่ 345

ให้ตัด   จี้เอง   ให้จี้    โดยสมัยอื่น   เขามีบริวาร ๑๐๐ คน   หรือ ๑,๐๐๐ คน
แวดล้อมแล้ว  เที่ยวไปอยู่ในคาม นิคม และราชธานี  ฆ่าเอง ฯลฯ  ให้จี้  ดูก่อน
ภิกษุทั้งหลาย   ภิกษุชั่วบางรูปในศาสนานี้  ก็เหมือนอย่างนั้นแล   คิดอย่างนี้ว่า
ชื่อในกาลไหนหนอ   เราผู้อันบริวาร  ๑๐๐ ฯลฯ  แวดล้อมแล้ว   จักไปสู่ที่จารึก
ในคาม นิคม และราชธานี  ผู้อันคฤหัสถ์ทั้งหลายและบรรพชิตทั้งหลายสักการ
แล้ว  เคารพแล้ว   นับถือแล้ว   บูชาแล้ว    ยำเกรงแล้ว    ได้จีวร ฯลฯ  บริขาร
โดยสมัยอื่นอีก  เขาอันบริวาร  ๑๐ ฯลฯ  เที่ยวไปสู่คาม นิคม ราชธานีสักการะ
แล้ว  ฯลฯ  ได้จีวร ฯลฯ  บริขาร  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  นี้มหาโจรที่  ๑  มีอยู่
ปรากฏอยู่ในโลก.   

         ๒.   ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย   ยังมีข้ออื่นอีก   ภิกษุชั่วบางรูปในศาสนานี้
เรียนธรรมวินัยที่ตถาคตประกาศแล้ว     ย่อมเผาตนเอง    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
นี้มหาโจรที่  ๒ ฯลฯ ในโลก.

         ๓.  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย   ยังมีข้ออื่นอีก   ภิกษุชั่วบางรูปในศาสนานี้
กำจัดพรหมจารีผู้บริสุทธิ์   ประพฤติพรหมจรรย์บริสุทธิ์   ด้วยพรหมจรรย์อัน
ไม่มีมูล  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย   นี้มหาโจรที่ ๓ ฯลฯ ในโลก.

         ๔. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ยังมีข้ออื่นอีก ครุภัณฑ์ ครุบริขาร ของสงฆ์
คือ   อาราม   อารามวัตถุ   วิหาร   วิหารวัตถุ   เตียง  ตั่ง   ฟูก  หมอน  หม้อ-
โลหะ  อ่างโลหะ  ขวดโลหะ  กระทะโลหะ  มีด  ขวาน  ผึ่ง  จอบ  สิ่ว  เถาวัล
ไม้ไผ่   หญ้ามุงกระต่าย   หญ้าปล้อง   ดินเหนียว   เครื่องไม้   เครื่องดินเหนียว
ภิกษุชั่วย่อมสงเคราะห์   ย่อมช่วยเหลือคฤหัสถ์ด้วยครุภัณฑ์  ครุบริขารเหล่านั้น
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  นี้มหาโจรที่ ๔  ฯลฯ ในโลก.

 พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๕ - หน้าที่ 346

         ๕.  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย   ภิกษุใดอวดอุตริมนุสธรรมที่ตนไม่มี   ไม่
เป็นจริง ภิกษุนี้เป็นยอดมหาโจรในโลกพร้อมทั้งเทวโลก ฯลฯ พร้อมทั้งเทวดา
และมนุษย์.

         ในโจร ๕ จำพวกนั้น   โจรทางโลกย่อมขโมยวัตถุมีทรัพย์และธัญชาติ
เป็นต้น    เฉพาะทางโลกเท่านั้น   ในบรรดาโจรที่กล่าวแล้วในศาสนา  โจรที่ ๑
ย่อมขโมยสักว่าปัจจัยมีจีวรเป็นต้น   มีรูปเห็นปานนั้นเท่านั้น    โจรที่ ๒   ย่อม
ขโมยประยัติธรรม  โจรที่ ๓  ย่อมขโมยพรหมจรรย์ของคนอื่น   โจรที่ ๔  ย่อม
ขโมยครุภัณฑ์อันเป็นของสงฆ์  โจรที่ ๕   ย่อมขโมยทั้งคุณทรัพย์ที่เป็นโลกิยะ
และโลกุตระ   อันต่างด้วยฌาน   สมาธิ  สมาบัติ  มรรค   และผลทั้งปัจจัยมีจีวร
เป็นต้น      อันเป็นโลกีย์    เหมือนอย่างที่ตรัสไว้ว่า    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
ก้อนข้าวของแว่นแคว้น  พวกเธอบริโภคแล้ว   ด้วยไถยจิต.

         ในโจร ๕ จำพวกนั้น     พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า    เป็นโจรในโลก
พร้อมทั้งพรหมโลก   ดังนี้   ทรงหมายถึงมหาโจรที่ ๕ นี้    เพราะมหาโจรนั้น
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า     เป็นยอดมหาโจร     เพราะขโมยโลกิยทรัพย์และ
โลกุตรทรัพย์อย่างนี้ว่า  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย   ภิกษุใดอวดอุตริมนุสธรรมที่ตน
ไม่มี  ไม่เป็นจริง  ภิกษุนี้เป็นยอดมหาโจรในโลกพร้อมทั้งเทวโลก . . .  พร้อม
ทั้งเทวดาและมนุษย์   เพราะฉะนั้น      จึงทรงประกาศภิกษุนั้น    แม้ในศาสนานี้
ด้วยการกำหนดอย่างสูงนี้ว่า  ในโลกพร้อมทั้งพรหมโลก.

http://www.samyaek.com/pratripidok/index.php?topic=443.0