ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: ธันวาคม 19, 2010, 10:42:57 pm »

 :13: อนุโมทนาครับพี่แป๋ม
ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: ธันวาคม 19, 2010, 03:05:51 pm »


         

พระอภิธรรมปิฎก ธรรมสังคณี เล่ม ๑ ภาค ๒ - หน้าที่ 512
   
              [๘๗๔]   บทว่า  ความสลดใจนั้น    มีนิเทศว่า    ญาณอันเห็นชาติ   
   โดยความเป็นภัย ญาณอันเห็นชราโดยความเป็นภัย ญาณอันเห็นพยาธิโดยความ     
    เป็นภัย  ญาณอันเห็นมรณะโดยความเป็นภัย.
   
              บทว่า  ฐานะเป็นที่ตั้งแห่งความสลดใจ  นั้น  มีนิเทศว่า    ชาติ   
    ชรา  พยาธิ  มรณะ.
   
              บทว่า     ความพยายามโดยแยบคายแห่งบุคคลผู้มีใจสลดแล้ว   
   นั้น    มีนิเทศว่า    ภิกษุในธรรมวินัยนี้     ย่อมยังฉันทะให้เกิด    ย่อมพยายาม   
   ย่อม ปรารภความเพียร   ย่อมประคองจิตไว้   ย่อมตั้งจิตไว้  เพื่อความไม่บังเกิด   
   ขึ้น แห่งอกุศล    บาปธรรมทั้งหลายที่ยังไม่บังเกิดขึ้น    เพื่อละอกุศลบาปธรรม
   
   ทั้งหลายที่บังเกิดขึ้นแล้ว     เพื่อความบังเกิดขึ้นแห่งกุศลธรรมทั้งหลายที่ยังไม่   
   บังเกิดขึ้น  เพื่อความตั้งอยู่   เพื่อความไม่จืดจาง  เพื่อความเพิ่มพูน  เพื่อความ   
   ไพบูลย์ เพื่อความเจริญ เพื่อความบริบูรณ์ แห่งกุศลธรรมทั้งหลายที่บังเกิดขึ้นแล้ว



ว่าด้วยนิทเทสสังเวคทุกะ
พึงทราบวินิจฉัยในนิทเทสสังเวคทุกะ  ต่อไป

     บทว่า   ชาติภยํ  (กลัวชาติ)   ได้แก่  ญาณที่เห็นชาติ   (ความเกิด)   
   โดยความ เป็นภัยตั้งอยู่.   แม้ในญาณที่เห็นชราและมรณะโดยความเป็นภัย   
    เป็นต้น  ก็นัยนี้แหละ.
   
              ด้วยบทว่า    อนุปฺปนฺนานํ   ปาปกานํ    (เพื่อความไม่เกิดขึ้นแห่ง   
   อกุศลบาปธรรม)  เป็นต้น    พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสความเพียรอันเป็นเหตุของ
   
   ภิกษุผู้เห็นชาติ เป็นต้น โดยความเป็นภัยแล้วใคร่เพื่อจะพ้นไปจากชาติ  ชรา   
   พยาธิ และมรณะ.          ส่วนเนื้อความแห่งบทภาชนีย์จักมีแจ้งในอรรถกถา   
   วิภังคัฏฐกถา.


Credit by : http://agaligohome.fix.gs/index.php?topic=1934.msg7507;topicseen
miracle of love
Pic by : Google  * สุขใจดอทคอม
อนุโมทนาสาธุที่มาทั้งหมดมากมายค่ะ