ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: rain....
« เมื่อ: ธันวาคม 20, 2010, 10:43:27 pm »

อนุโมทนา  วันทามิงับ
อิอิ  อิอิ  อิอิ
ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: ธันวาคม 18, 2010, 11:18:51 pm »

 :13: อนุโมทนาครับพี่สาว
ข้อความโดย: ซุปเปอร์เบื๊อก
« เมื่อ: ธันวาคม 18, 2010, 10:24:43 pm »

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 361

               [อรรถาธิบาย  คำว่า  นิรพฺพุทโท  เป็นต้น]

        บรรดาบทเหล่านั้น  บทว่า  นิรพฺพุโท  คือเว้นจากเสนียด.  พวกโจร
ท่านเรียกว่า  เสนียด.  อธิบายว่า  หมดโจร.  ก็ในอรรถนี้  พวกภิกษุผู้ทุศีล
ท่านประสงค์เอาว่า  เป็นโจร.  จริงอยู่  ภิกษุผู้ทุศีลเหล่านั้น  ย่อมลักปัจจัย
ของคนเหล่าอื่น  เพราะเป็นผู้มิใช่สมณะ  แต่มีความสำคัญว่าเป็นสมณะ  เพราะ
เหตุนั้น  ภิกษุสงฆ์ไม่มีเสนียด  ไม่มีโจร  มีอธิบายว่า  ไม่มีคนทุศีล.  บทว่า
นิราทีนโว  ได้แก่  ไม่มีอุปัทวะ  คือไม่มีอุปสรรค.  มีคำอธิบายว่า  เว้นจาก
โทษของผู้ทุศีลทีเดียว.  ผู้ทุศีลแล  ท่านเรียกว่า  คนดำ  ในคำว่า  อปคตกาฬโก
นี้.  จริงอยู่  ผู้ทุศีลเหล่านั้น แม้เป็นผู้มีวรรณะดุจทองคำ  พึงทราบว่า  เป็น
คนดำทีเดียว  เพราะประกอบด้วยธรรมดำ.  เพราะไม่มีคนมีธรรมดำเหล่านั้น
จึงชื่อว่า  อปคตกาฬก.  ปาฐะว่า อปหตกาฬก  ก็มี.  บทว่า  สุทฺโธ  คือ
ชื่อว่าบริสุทธิ์  เพราะมีคนดำปราศไปแล้วนั่นเอง.  บทว่า  ปริโยทาโต  คือ
ผุดผ่อง.  คุณคือศีล  สมาธิ  ปัญญา วิมุตติ  และวิมุตติญาณทัสสนะ  ท่านเรียกว่า
สาระ  ในคำว่า  สาเร  ปติฏฺฐิโต  นี้.  เพราะตั้งอยู่แล้วในสาระนั้น  จึงชื่อว่า
ตั้งอยู่ในสารคุณ.  พระผู้มีพระภาคเจ้า  ครั้นตรัสความที่ภิกษุสงฆ์ตั้งอยู่ใน
สารคุณอย่างนี้แล้ว  เมื่อจะทรงแสดงอีกว่า  ก็ความที่ภิกษุสงฆ์นั้นตั้งอยู่ใน
สารคุณนั้น  พึงทราบอย่างนี้ 

http://www.samyaek.com/pratripidok/index.php?topic=809.0