ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: rain....
« เมื่อ: ธันวาคม 20, 2010, 10:46:03 pm »

อนุโมทนางับ
ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: ธันวาคม 18, 2010, 11:20:35 pm »

 :13: อนุโมทนาครับ
ข้อความโดย: ซุปเปอร์เบื๊อก
« เมื่อ: ธันวาคม 18, 2010, 10:28:57 pm »

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 662

                                       อนิยตกัณฑ์

  ท่านทั้งหลาย  อนึ่ง   ธรรมคืออนิยต ๒  สิกขาบทเหล่านี้แล มาสู่อุเทศ.

                                อนิยตสิกขาบทที่  ๑

             เรื่องพระอุทายีกับนางวิสาขา  มิคารมาตา

        [๖๓๑]  โดยสมัยนั้น  พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่  ณ  พระ-
เชตวัน    อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี    เขตพระนครสาวัตถี   ครั้งนั้น
ท่านพระอุทายีเป็นพระประจำสกุลในพระนครสาวัตถี    เข้าไปหาสกุลเป็น
อันมาก     สมัยนั้น สาวน้อยแห่งสกุลอุปัฏฐากของท่านพระอุทายี     เป็น
สตรีที่มารดาบิดายกให้แก่หนุ่มน้อยของสกุลหนึ่ง

         ครั้นเวลาเช้า  ท่านพระอุทายีครองอันตรวาสกแล้ว    ถือบาตรและ
จีวรเข้าไปหาสกุลนั้น    ครั้นแล้วจึงไต่ถามพวกชาวบ้านว่า    สาวน้อยผู้มี
ชื่อนี้   อยู่ไหน

         พวกชาวบ้านตอบอย่างนี้ว่า   พวกข้าพเจ้าได้ยกให้แก่หนุ่มน้อยของ
สกุลโน้นแล้ว   เจ้าข้า

         แม้สกุลนั้นแล   ก็เป็นอุปัฏฐากของท่านพระอุทายี     จึงท่านพระ-
อุทายีเข้าไปหาสกุลนั้น     ครั้นแล้วจึงถามพวกชาวบ้านว่า    สตรีผู้มีชื่อนี้
อยู่ไหน
         พวกชาวบ้านตอบว่า  นางนั่งอยู่ในห้อง  เจ้าข้า

         จึงท่านพระอุทายีเข้าไปหาสาวน้อยนั้น     ครั้นแล้วสำเร็จการนั่งใน
ที่ลับ    คือในอาสนะกำบังซึ่งพอจะทำการได้กับสาวน้อยนั้น   หนึ่งต่อหนึ่ง
เจรจากล่าวธรรมอยู่   ควรแก่เวลา.       
                                           
พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่ 663

         [๖๓๒]    ก็โดยสมัยนั้นแล   นางวิสาขา  มิคารมาตา   เป็นสตรีมีบุตร
มาก  มีนัดดามาก  มีบุตรไม่มีโรค  มีนัดดาไม่มีโรค    ซึ่งโลกสมมติว่าเป็น
มิ่งมงคล พวกชาวบ้านเชิญนางไปให้รับประทานอาหารก่อนในงานบำเพ็ญ
กุศล  งานมงคล  งานมหรสพ    ครั้งนั้น นางวิสาชา มิคารมาตา  ได้ถูก
เชิญไปสู่สกุลนั้น   นางได้เห็นที่ท่านพระอุทายี  นั่งในที่ลับ   คือในอาสนะ-
กำบัง  ซึ่งพอจะทำการได้กับหญิงสาวนั้น  หนึ่งต่อหนึ่ง  ครั้นแล้วได้กล่าว
คำนี้กะท่านพระอุทายีว่า    ข้าแต่พระคุณเจ้า    การที่พระคุณเจ้าสำเร็จการ
นั่งในที่ลับ   คือในอาสนะกำบัง  ซึ่งพอจะทำการได้กับมาตุคาม  หนึ่งต่อ
หนึ่งเช่นนี้  ไม่เหมาะ  ไม่ควร  แม้พระคุณเจ้าจะไม่ต้องการด้วยธรรมนั้น
ก็จริง   ถึงอย่างนั้น    พวกชาวบ้านผู้ที่ไม่เลื่อมใส    จะบอกให้เธอได้โดย
ยาก       

         ท่านพระอุทายี     แม้ถูกนางวิสาขา  มิคารมาตา   ว่ากล่าวอยู่อย่างนี้
ก็มิได้เชื่อฟัง

          เมื่อนางวิสาขา   มิคารมาตา   กลับไปแล้ว   ได้แจ้งเรื่องนั้นแก่ภิกษุ
ทั้งหลาย                       

         บรรดาภิกษุที่เป็นผู้มักน้อย   สันโดษ  มีความละอาย  มีความรังเกียจ
ผู้ใคร่ต่อสิกขา    ต่างพากันเพ่งโทษ  ติเตียน   โพนทะนาว่า    ไฉนท่าน
พระอุทายีจึงได้สำเร็จการนั่งในที่ลับ  คือในอาสนะกำบัง  ซึ่งพอจะทำการ
ได้กับมาตุคาม  หนึ่งต่อหนึ่งเล่า  แล้วกราบทูลเนื้อความนั้น   แด่พระผู้มี-
พระภาคเจ้า

http://www.samyaek.com/pratripidok/index.php?topic=465.0