ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: มกราคม 01, 2011, 10:13:26 am »

 :13: อนุโมทนาครับ ขอบคุณครับพี่สาว
ข้อความโดย: เลดี้เบื๊อก
« เมื่อ: ธันวาคม 30, 2010, 11:09:17 pm »

พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เล่ม ๑ ภาค ๒ ตอน ๓ - หน้าที่ 236
   
        ๓.  เรื่องภิกษุผู้เจริญวิปัสสนา  [๑๓๙]
   
                                             ข้อความเบื้องต้น
             พระศาสดา   เมื่อประทับอยู่ในพระเชตวัน    ทรงปรารภภิกษุผู้เจริญ
   วิปัสสนามีประมาณ๕๐๐รูป  ตรัสพระธรรมเทศนานี้ว่า " ยถา ปุพฺพุฬก
   ปสฺเส "  เป็นต้น.

                          ภิกษุถือเอาพยับแดดเป็นอารมณ์

            ได้ยินว่า    ภิกษุเหล่านั้น    เรียนกัมมัฏฐานในสำนักของพระศาสดา
   แล้ว   เข้าไปสู่ป่า  แม้พยายามอยู่  ก็ไม่ได้บรรลุคุณวิเศษ  จึงคิดว่า  '' พวก
   เราจักเรียนกัมมัฏฐานให้วิเศษ "  กำลังมาสู่สำนักของพระศาสดา     เห็น
   พยับแดดในระหว่างทาง   เจริญกัมมัฏฐานมีพยับแดดเป็นอารมณ์นั่นแหละ
   มาแล้ว.     ฝนตกในขณะแห่งภิกษุเหล่านั้นเข้าไปสู่วิหารนั่นเอง       ภิกษุ
   เหล่านั้นยืนที่หน้ามุขนั้น ๆ    เห็นฟองน้ำทั้งหลายซึ่งตั้งขึ้นแล้ว      แตกไป
   อยู่ด้วยความเร็วแห่งสายน้ำ   ยึดเอาเป็นอารมณ์ว่า  " อัตภาพแม้นี้   เป็น
   เช่นกับฟองน้ำ  เพราะอรรถว่าเกิดขึ้นแล้วแตกไปเหมือนกัน. "  พระศาสดา
   ประทับนั่งในพระคันธกุฎีนั่นเอง    ทรงแลดูภิกษุเหล่านั้นแล้ว     ทรงแผ่
   พระโอภาส  เหมือนตรัสกับภิกษุเหล่านั้นแล้ว   ตรัสพระคาถานี้ว่า :-

            ๓.   ยถา  ปุพฺพุฬก  ปสฺเส           ยถา  ปสฺเส  มรีจิก   
               เอว  โลก  อเวกฺขนฺต           มจฺจุราชา  น ปสฺสติ.
                  " พระยามัจจุ    ย่อมไม่เห็นบุคคลผู้พิจารณาเห็น
             อยู่ซึ่งโลก     เหมือนบุคคลพึงเห็นฟองน้ำ     (และ)
             เหมือนบุคคลพึงเห็นพยับแดด. "   
   
    พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เล่ม ๑ ภาค ๒ ตอน ๓ - หน้าที่ 237
   
                                             แก้อรรถ   

           บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า มรีจิก คือพยับแดด  จริงอยู่  พยับแดด
   แม้ปรากฏขึ้นแต่ที่ไกลเทียว  ด้วยสามารถมีสัณฐานดังสัณฐานเรือนเป็นต้น
   เป็นของเข้าถึงความเป็นรูปที่ถือเอามิได้     เป็นของว่างเปล่าแท้     (ย่อม
   ปรากฏ)  แก่คนทั้งหลายผู้เข้าไปใกล้อยู่,    เพราะเหตุนั้น     จึงมีอธิบายว่า
   " พระยามัจจุ      ย่อมไม่เห็นบุคคลผู้พิจารณาเห็นอยู่ซึ่งโลกมีขันธ์เป็นอาทิ
   เหมือนบุคคลพึงเห็นฟองน้ำ    เพราะอรรถว่าเกิดขึ้นแล้วแตกไป    (และ)
   เหมือนบุคคลพึงเห็นพยับแดด       เพราะความเป็นธรรมชาติว่างเปล่าเป็น
   อาทิ  ฉะนั้น. "

         ในเวลาจบเทศนา   ภิกษุเหล่านั้นบรรลุพระอรหัตแล้ว    ในที่แห่ง
   ตนยืนนั่นเอง  ดังนี้แล.
   
                            เรื่องภิกษุผู้เจริญวิปัสสนา  จบ.
   
http://www.samyaek.com/pratripidok/index.php?topic=792.0
http://agaligohome.fix.gs/index.php?topic=2127.0