ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: มกราคม 01, 2011, 10:15:12 am »

 :13: อนุโมทนาครับ ขอบคุณครับพี่สาว
ข้อความโดย: เลดี้เบื๊อก
« เมื่อ: ธันวาคม 30, 2010, 11:14:26 pm »

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค เล่ม ๒ ภาค ๑ - หน้าที่ 126
   
   บทว่า  มญฺชุสฺสโร   คือพระกุมารมีพระสุรเสียงไม่กระด้าง.    บทว่า
   วคฺคุสฺสโร  คือพระกุมารมีพระสุรเสียงเต็มไปด้วยความฉลาด. บทว่า  มธุรสฺ-
   สโร คือพระกุมารมีพระสุรเสียงน่าพอใจ. บทว่า เปมนียสฺสโร คือพระกุมาร
   มีพระสุรเสียงทำให้เกิดความรัก.   ข้อนี้เป็นอธิบายในบทนั้น  เพราะนกการเวก
   มีเสียงเพราะ   ได้ยินมาว่า  เมื่อนกการเวกจิกมะม่วงสุกมีรสอร่อยด้วยจะงอยปาก
   แล้วดื่มรสที่ไหลออกมาแล้วกระพือปีกร้อง   บรรดาสัตว์  ๔  เท้า    เริ่มเยื้องย่าง
   เหมือนเมา.   บรรดาสัตว์  ๔ เท้า  แม้กำลังหาอาหารก็ทิ้งหญ้าที่เข้าไปในปากฟัง
   
   พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค เล่ม ๒ ภาค ๑ - หน้าที่ 127
   
   เสียงนั้น.   บรรดาเนื้อร้ายที่กำลังติดตามพวกเนื้อน้อย ๆ ก็ไม่วางเท้าที่ยกขึ้นยืน
   นิ่งอยู่.     และบรรดาเนื้อที่ถูกติดตามก็ละความกลัวตายยืนนิ่ง.     แม้บรรดานก
   กำลังบินไปบนอากาศก็เหยียดปีกหยุดฟังเสียง.  แม้บรรดาปลาในน้ำกระดิกแผ่น
   หูหยุดฟังเสียงนั้น.  นกการเวกมีเสียงเพราะถึงอย่างนี้.   แม้พระนางอสันธิมิตตา
   พระเทวีของพระเจ้าธรรมาโศกราช     ก็ยังตรัสถามพระสงฆ์ว่า      พระคุณเจ้า
   เสียงของใคร  ๆ เช่นกับเสียงของพระพุทธเจ้ายังมีอยู่หรือหนอ.   พระสงฆ์ถวาย
   พระพรว่า ถวายพระพรมีเสียงของนกการเวก. พระคุณเจ้านกเหล่านั้นอยู่ที่ไหน
   เจ้าคะ   ถวายพระพรว่าอยู่ในป่าหิมพานต์    พระเทวีทูลพระราชาว่า   ข้าแต่เทวะ
   หม่อมฉันประสงค์จะเห็นนกการเวกเพคะ. พระราชาทรงอธิษฐานว่า นกการเวก
   จงมาเกาะในกรงนี้แล้วปล่อยกรงทองไป.    กรงทองได้ไปตั้งอยู่ข้างหน้านกการ-
   เวกตัวหนึ่ง.     นกการเวกนั้นคิดว่า  กรงทองมาตามพระดำรัสสิ่งของพระราชา
   ไม่อาจขัดขืนได้แล้วจับเฉยอยู่ ณ ที่นั้น.    กรงทองได้มาตั้งอยู่เบื้องพระพักตร์
   ของพระราชา   อำมาตย์ทั้งหลายไม่สามารถให้นกการเวกทำเสียงได้.   ลำดับนั้น
   พระราชาตรัสว่า   ดูก่อนพระนายทั้งหลาย     นกการเวกเหล่านี้ทำเสียงอย่างไร.
   พวกอมาตย์กราบทูลว่า  ข้าแต่สมมติเทพ   นกการเวกเหล่านี้เห็นพวกญาติจึงจะ
   ทำเสียง. ลำดับนั้น พระราชารับสั่งให้เอากระจกล้อมนกการเวกนั้น. นกการเวก
   นั้นครั้นเห็นเงาของตนสำคัญว่า   ญาติของเรามาแล้ว   จึงกระพือปีกร้องดุจเป่า
   แก้วมณีวงศ์ด้วยเสียงอันอ่อน.     พวกมนุษย์ในสกลนครเยื้องกรายดุจคนเมา
   พระนางอสันธิมิตตาดำริว่า   เสียงของสัตว์เดียรัจฉานนี้ยังเพราะถึงอย่างนี้   พระ
   สุรเสียงของพระผู้มีพระภาคเจ้าผู้ทรงบรรลุสิริ คือ  พระสัพพัญญุตญาณจะเป็น
   เช่นไรหนอ ยังพระปีติให้เกิดไม่ทรงละพระปีตินั้น  ทรงดำรงอยู่ในโสดาปัติผล
   พร้อมด้วยบริวาร ๗๐๐     พึงทราบว่าเสียงนกการเวกยังเพราะถึงอย่างนี้     แต่
   พระสุรเสียงของพระวิปัสสีราชกุมารได้ไพเราะกว่านั้นร้อยส่วนพันส่วน.
   
http://www.samyaek.com/pratripidok/index.php?topic=188.0
http://agaligohome.fix.gs/index.php?topic=2134.0