ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: มกราคม 06, 2011, 11:51:52 pm »

 :13: อนุโมทนาครับพี่สาว ขอบคุณครับผม
ข้อความโดย: เลดี้เบื๊อก
« เมื่อ: มกราคม 06, 2011, 11:05:04 pm »

   
จิตดิ้นรน...
   
   ผนฺทนํ จปสํ จิตฺตํ
   ทุรกฺขํ ทุนฺนิวารยํ
   อุชุํ กโรติ เมธาวี
   อุสุการโรว เตชนํ . . . ฯ ๓๓ ฯ
   
   จิตดิ้นรน กลับกลอก ป้องกันยาก ห้ามยาก
   คนมีปัญญาสามารถทำให้ตรงได้
   เหมือนช่างศรดัดลูกศร
   
   The flickering, fickle mind,
   Difficult to guard, diffucult to control,
   The wise man straightens,
   As a fletcher, an arrow.

   มัตสยาถูก...
   
   วาริโชว ถเล ขิตฺโต
   โอกโมกต อุพฺภโต
   ปริผนฺทติทํ จิตฺตํ
   มารเธยฺยํ ปหาตเว . . . ฯ ๓๔ ฯ
   
   มัตสยาถูกเขาจับโยนไปบนบก ย่อมดิ้นรน
   เพื่อจะกลับไปยังแหล่งน้ำที่เคยอาศัย
   จิตใจเราก็เช่นกัน ดิ้นรนไปหากามคุณ
   เพราะฉะนั้น จึงควรละเว้นกามคุณเสีย
   
   Like a fish drawn from its watery abode
   And thrown upon land,
   Even so does the mind flutter.
   Hence should the realm of passions be shunned.

   จิตควบคุมยาก...
   
   ทุนฺนิคฺคหสฺส ลหุโน
   ยตฺถกามนิปาติโน
   จิตฺตสฺส ทมโถ สาธุ
   จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ . . . ฯ ๓๕ ฯ
   
   จิตควบคุมยาก เปลี่ยนแปลงเร็ว
   ใฝ่ในอารมณ์ตามที่ใคร่
   ฝึกจิตเช่นนั้นได้เป็นการดี
   เพราะจิตที่ฝึกดีแล้ว นำสุขมาให้
   
   Good is it to control the mind
   Which is hard to check and swift
   And flits wherever it desires.
   A subdued mind is conducive to happiness.
   
   จิตเห็นได้ยาก...
   
   สุทุทฺทสํ สุนิปุณํ
   ยตฺถกามนิปาตินํ
   จิตฺตํ รกฺเขถ เมธาวี
   จิตฺตํ คุตฺตํ สุขาวหํ . . . ฯ ๓๖ ฯ
   
   จิตเห็นได้ยาก ละเอียดยิ่งนัก
   มักใฝ่ในอารมณ์ตามที่ใคร่
   ผู้มีปัญญาจึงควรควบคุมจิตไว้ให้ดี
   เพราะจิตที่ควบคุมได้แล้ว นำสุขมาให้
   
   Hard to perceive and extremely subtle is this mind,
   It roams wherever it desires.
   Let the wise man guard it;
   A guarded mind is conducive to happiness.

   จิตท่องเที่ยว...
   
   ทูรงฺคมํ เอกจรํ
   อสรีรํ คุหาสยํ
   เย จิตฺตํ สญฺญเมสฺสนฺติ
   โมกฺขนฺติ มารพนฺธนา . . . ฯ ๓๗ ฯ
   
   จิตท่องเที่ยวไปไกล เที่ยวไปดวงเดียว
   ไม่มีรูปร่าง อาศัยอยู่ในร่างกายนี้
   ใครควบคุมจิตนี้ได้
   ย่อมพ้นจากบ่วงมาร
   
   Faring afar, solitary, incorporeal
   Lying in the body, is the mind.
   Those who subdue it are freed
   From the bond of Mara.

   ปัญญาย่อม...
   
   อนวฏฺฐิตจิตฺตสฺส
   สนฺธมฺมํ อวิชานโต
   ปริปฺลวปสาทสฺส
   ปญฺญา น ปริปูรติ . . . ฯ ๓๘ ฯ
   
   ปัญญาย่อมไม่บริบูรณ์
   แก่ผู้มีจิตไม่มั่นคง
   ไม่รู้พระสัทธรรม
   มีความเลื่อมใสไม่จริงจัง
   
   He whose mind is inconstant,
   He who knows not the true doctrine,
   He whose confidence wavers -
   The wisdom of such a one is never fulfilled.

   ผู้มีสติ...
   
   อนวสฺสุตจิตฺตสฺส
   อนนฺวาหตเจตโส
   ปุญฺญปาปปหีนสฺส
   นตฺถิ ชาครโต ภยํ . . . ฯ ๓๙ ฯ
   
   ผู้มีสติตื่นตัวอยู่เนืองนิตย์
   มีจิตเป็นอิสระจากราคะและโทสะ
   ละบุญและบาปได้
   ย่อมไม่กลัวอะไร
   
   He who is vigilant,
   He whose mind is not overcome by lust and hatred,
   He who has discarded both good and evil -
   For such a one there is no fear.

   ป้องกันเมือง...
   
   กุมฺภูปมํ กายมิมํ วิทิตฺวา
   นครูปมํ จิตฺตมิทํ ถเกตฺวา
   โยเชถ มารํ ปญฺญาวุเธน
   ชิตญฺจ รกฺเข อนิเวสโน สิยา . . . ฯ ๔๐ ฯ
   
   เมื่อรู้ว่าร่างกายนี้แตกดับง่ายเหมือนหม้อน้ำ
   พึงป้องกันจิตให้มั่นเหมือนป้องกันเมืองหลวง
   แล้วพึงรบกับพญามารด้วยอาวุธคือปัญญา
   เมื่อรบชนะแล้วพึงรักษาชัยชนะนั้นไว้
   ระวังอย่าให้ตกอยู่ในอำนาจมารอีก
   
   Realizing that this body is fragile as a pot,
   Establishing one's mind as firm as a fortified city,
   Let one attack Mara with the weapon of wisdom.
   After victory let one guard one's conquest
   And afford no rest to Mara.

   อีกไม่นาน...
   
   อจิรํ วตยํ กาโย
   ปฐวึ อธิเสสฺสติ
   ฉุฑฺโฑ อเปตวิญฺญาโณ
   นิรตฺถํว กลิงฺครํ . . . ฯ ๔๑ ฯ
   
   อีกไม่นาน ร่างกายนี้
   จักปราศจากวิญญาณ
   ถูกทอดทิ้ง ทับถมแผ่นดิน
   เหมือนท่อนไม้อันหาประโยชน์มิได้
   
   Soon, alas! will this body lie
   Upon the ground, unheeded,
   Devoid of consciousness,
   Even as useless log.

   จิตที่ฝึกผิด...
   
   ทิโส ทิสํ ยนฺตํ กยิรา
   เวรี วา ปน เวรินํ
   มิจฺฉาปณิหิตํ จิตฺตํ
   ปาปิโย นํ ตโต กเร . . . ฯ ๔๒ ฯ
   
   จิตที่ฝึกฝนผิดทาง
   ย่อมทำความเสียหายให้
   ยิ่งกว่าศัตรูทำต่อศัตรู
   หรือคนจองเวรทำต่อคนจองเวร
   
   Whatever harm a foe may do to a foe,
   Or a hater to a hater,
   An ill-directed mind
   Can harm one even more.

   จิตที่ฝึกชอบ...
   
   น ตํ มาตา ปิตา กยิรา
   อญฺเญ วาปิจ ญาตกา
   สมฺมาปณิหิตํ จิตฺตํ
   เสยฺยโส นํ ตโต กเร . . . ฯ ๔๓ ฯ
   
   มารดาก็ทำให้ไม่ได้ บิดาก็ทำให้ไม่ได้
   ญาติพี่น้องก็ทำให้ไม่ได้ แต่จิตที่ฝึกฝนไว้ชอบ
   ย่อมทำสิ่งนั้นได้ และทำได้อย่างประเสริฐด้วย
   
   What neither mother, nor father,
   Nor any other relative can do,
   A well-directed mind does
   And thereby elevates one.
   
   http://board.srthinth.info/DhammaPhatha03.html