ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: มกราคม 10, 2011, 12:24:53 am »

 :13: อนุโมทนาสาธุครับ ขอบคุณครับพี่สาว
ข้อความโดย: เลดี้เบื๊อก
« เมื่อ: มกราคม 09, 2011, 09:33:57 pm »

   
ผู้เดินถึง...
   
   คตทฺธิโน วิโสกสฺส
   วิปฺปมุตฺตสฺส สพฺพธิ
   สพฺพคนฺถปฺปหีนสฺส
   ปริฬาโห น วิชฺชติ . . . ฯ ๙๐ ฯ
   
   ผู้เดินถึงจุดหมายเปลายทางแล้ว
   วิมุติหลุดพ้นโดยประการทั้งปวง
   หมดโศก หมดเครื่องพัวพันแล้ว
   ความร้อนใจก็หมดไป
   
   For him who has completed his journey,
   For him who is wholly free from all,
   For him who has destroyed all bonds,
   The fever of passion exists not.

   หงส์ทิ้งสระ..
   
   อุยฮยุญฺชนฺติ สติมนฺโต
   น นิเกเต รมนฺติ เต
   หํสาว ปลฺลวํ หิตฺวา
   โอกโมกํ ชหนฺติ เต . . . ฯ ๙๑ ฯ
   
   ผู้มีสติย่อมขยันขันแข็ง
   ไม่ยึดติดแหล่งที่อาศัย
   ละทิ้งไปตามลำดับ
   เหมือนกับพญาหงส์ทิ้งสระน้ำ
   
   The mindful ones exert themselves,
   To no abode are they attached;
   Like swans that quit their pools,
   Home after home they leave behind.

   ไร้นิมิต..
   
   เยสํ สนฺนิจฺจโย นตฺถิ
   เย ปริญฺญาตโภชนา
   สุญฺญโต อนิมิตฺโต จ
   วิโมกฺโข เยส โคจโร
   อากาเสว สกุนฺตานํ
   คติ เตสํ ทุรนฺวยา . . . ฯ ๙๒ ฯ
   
   ท่านที่หมดการสะสม (ปัจจัยหรือกรรมดีกรรมชั่ว)
   พิจารณาโภชนะก่อนบริโภค เข้าถึงความหลุดพ้น
   อันว่างจากกิเลสและไร้นิมิตหมายคือกิเลส
   บุคคลเช่นนี้ ยากที่สามัญชนจะตามทัน
   เหมือนนกบินบนท้องฟ้า ตามทันยาก
   
   Those for whom there is no accumulation,
   Who reflect well over their food,
   Who have perceived void and unconditioned freedom -
   Their path is hard to trace,
   Like that of birds in the air.

   ผู้หมดกิเลส...
   
   ยสฺสาสวา ปริกฺขีณา
   อาหาเร จ อนิสฺสิโต
   สุญฺญโต อนิมิตฺโต จ
   วิโมกฺโข ยสฺส โคจโร
   อากาเสว สกุนฺตานํ
   ปทํ ตสฺส ทุรนฺวยํ . . . ฯ ๙๓ ฯ
   
   ผู้ที่หมดกิเลส ไม่เห็นแก่กิน เข้าถึงความหลุดพ้น
   อันว่างจากกิเลสและไร้นิมิตหมายคือกิเลส
   บุคคลเช่นนี้มิได้ทิ้งร่องรอยอะไรไว้เลย
   เหมือนนกบินบนท้องฟ้า หารอยอันใดมิได้
   
   He whose corruptions are destroyed,
   He who is not attached to food,
   He who has perceived void and unconditioned freedom -
   His track cannot be traced.
   Like that of birds in the air.

   คุมอินทรีย์..
   
   ยสฺสินฺทฺริยานิ สมถงฺคตานิ
   อสฺสา ยถา สารถินา สุทนฺตา
   ปหีนมานสฺส อนาสวสฺส
   เทวาปิ ตสฺส ปิหยนฺติ ตาทิโน . . . ฯ ๙๔ ฯ
   
   ท่านผู้ใดควบคุมอินทรีย์คือ
   ตา, หู, จมูก, ลิ้น, กาย, ใจ ได้
   เหมือนม้าที่สารถีควบคุมได้อย่างดี
   ท่านผู้นี้หมดความไว้ตัว หมดกิเลส มั่นคง
   ย่อมเป็นที่โปรดปรานแม้กระทั่งของเทวดาทั้งหลาย
   
   He whose senses are subdued,
   Like steeds well-trained by a charioteer;
   He who is free from pride and corruption -
   Such a steadfast one even the gods hold dear.

   กับแผ่นดิน..
   
   ปฐวีสโม โน วิรุชฺฌติ
   อินฺทขีลูปโม ตาทิ สุพฺพโต
   รหโทว อเปตกทฺทโม
   สํสารา น ภวนฺติ ตาทิโน . . . ฯ ๙๕ ฯ
   
   พระอรหันต์เปรียบได้กับแผ่นดิน ไม่เคยโกรธขึ้งใคร
   มีจิตคงที่ เหมือนหลักเมือง
   มีจรรยาสะอาด เหมือนสระน้ำที่ใสไร้เปลือกตม
   ผู้มีคุณสมบัติเห็นปานนี้ ย่อมไม่เวียนว่ายตายเกิดอีก
   
   Like the earth the Worthy One resents not;
   Like the chief post is he of a firm mind;
   Like an unsullied pool is he of pure conduct;
   To such a one life's wanderings are no more.

   สงบระงับ..
   
   สนฺตํ ตสฺส มนํ โหติ
   สนฺตา วาจา จ กมฺม จ
   สมฺมทญฺญา วิมุตฺตสฺส
   อุปสนฺตสฺส ตาทิโน . . . ฯ ๙๖ ฯ
   
   พระอรหันต์ผู้เป็นอิสระเพราะรู้แจ้ง
   ผู้สงบระงับ และมีจิตมั่นคง
   ใจของท่าน ย่อมสงบ
   วาจาก็สงบ
   การกระทำทางกายก็สงบ
   
   Calm is his mind;
   Calm is his speech;
   Calm is his bodily action;
   Who, rightly knowing, is wholly freed,
   Perfectly peaceful and equipoised.

   ห้าประเภท..
   
   อสทฺโธ อกตญฺญู จ
   สนฺธิจฺเฉโท จ โย นโร
   หตาวกาโส วนฺตาโส
   ส เว อุตฺตมโปริโส . . . ฯ ๙๗ ฯ
   
   ผู้ไม่เชื่อใครง่ายจนกว่าจะพิสูจน์ด้วยตนเอง ๑
   ผู้รู้แจ้งพระนิพพาน ๑
   ผู้หมดการเวียนว่ายตายเกิด ๑
   ผู้หมดโอกาสที่จะทำดีหรือทำชั่ว ๑
   ผู้หมดกิเลสที่ทำให้หวัง ๑
   ห้าประเภทนี้แล เรียกว่า "ยอดคน"
   
   He who is not credulous,
   He who has realized Nibbana,
   He who has severed all ties,
   He who has put an end to opportunity,
   He who has removed all desires
   He, indeed, is the greatest of men.

   อยู่ในที่ใด..
   
   คาเม วา ยทิวารญฺเญ
   นินฺเน วา ยทิวา ถเล
   ยตฺถารหนฺโต วิหรนฺติ
   ตํ ภูมิ รามเณยฺยกํ . . . ฯ ๙๘ ฯ
   
   ไม่ว่าจะเป็นบ้าน หรือป่า
   ไม่ว่าที่ลุ่ม หรือที่ดอน
   พระอรหันต์ทั้งหลายอยู่ในที่ใด
   ที่นั้น เป็นที่น่ารื่นรมย์
   
   Whether in village or in forest,
   Whether in vale or on hill,
   Wherever the Worthy Ones dwell -
   Delightful, indeed, is that spot.

   ป่าที่คน...
   
   รมณียานิ อรญฺญานิ
   ยตฺถ น รมตี ชโน
   วีตราคา รเมสฺสนฺติ
   น เต กามคเวสิโน . . . ฯ ๙๙ ฯ
   
   ป่าที่คนทั่วไปไม่ชื่นชม
   เป็นรมณียสถาน
   สำหรับท่านผู้หมดราคะ
   เพราะพระท่านมิได้ใฝ่กามคุณ
   
   Delightful are the forests
   Where worldings find no joy,
   There the passionless rejoice
   For they seek no sensual pleasures.
   
http://board.srthinth.info/DhammaPhatha07.html
http://agaligohome.fix.gs/index.php?topic=2193.0