ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: มกราคม 12, 2011, 11:59:09 pm »

 :13: ขอบคุณครับน้องฝน
ข้อความโดย: rain....
« เมื่อ: มกราคม 12, 2011, 08:31:34 pm »

ไม่เอาทุกข์ทับถมตนที่ไม่ได้โดนทุกข์
 :33: :33: :33: :33:

ตาม เรื่องเดิม พระพุทธเจ้าตรัสสนทนากับพวกนิครนถ์ จึงเน้นไปที่การบำเพ็ญตบะของเขา คือ การทรมานตัวเอง เช่น จะโกนศีรษะ แทนที่จะใช้มีดโกน ก็ถอนผมทีละเส้น จะนอนก็ใช้เตียงหนามหรือติดตะปูไว้ทิ่มแทงตัว

ถ้าดู ที่คนทั่วไป ก็เช่นคนที่นั่งนอนนิ่งอยู่ดีๆ ไม่มีใครมาทำร้ายตัวเลย ก็เก็บเอาอาการกิริยาและถ้อยคำที่ขัดตาขัดหู จากคนโน้นคนนี้มาคิดปรุงแต่งไปต่างๆ ให้หงุดหงิดขัดเคืองใจทำร้ายตัวเอง

ที่ ตื้นกว่านั้น ก็อย่างคนดื่มสุราอัดยาเสพติด ทั้งที่ตัวเองก็เป็นปกติดีอยู่ กลับไปเอาสารที่ร่างกายไม่ได้ต้องการ แถมมีพิษภัยเป็นโทษต่อชีวิตร่างกาย สมัครใจเองเอามันมาใส่เข้าไปในร่างกาย แล้วก็ทำลายสุขภาพและคุณภาพของตัวเองเหมือนกับโดยตั้ งใจและโดยเต็มใจ

ตัวอย่าง อื่นยังมีอีกเยอะ เช่น คนขับรถซึ่ง หรือคนทำอะไรเสียงๆ โดยไม่มีเหตุผล เป็นต้น มีมากแต่ในขั้นลึก ปุถุชนทั่วไปนี่แหละ มักเอาทุกข์มาใส่ตัวอยู่เรื่อย หมายความว่า เป็นธรรมดาของสังขารที่ว่า มันไม่เที่ยง เป็นทุกข์ คงอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ ผันแปรไป เป็นอนัตตา

เรา รู้ทันความจริง เราก็ดำเนินชีวิตให้ดี ทุกข์ตามธรรมชาติก็มีของมันไป เราก็ไม่เอามันเข้ามาเป็นทุกข์ ที่จะทับถมตัวเรา เราก็โล่งเบาไปขั้นหนึ่ง

แต่ นี่ตรงข้าม คนมักปฏิบัติไม่ถูกต้อง ไม่เอาปัญญาที่รู้เท่าทันมารักษาตัวให้เป็นอิสระไว้ จึงเอาทุกข์ที่มีอยู่ในธรรมชาตินั่นเอง มาปรุงแต่งเป็นทุกข์ในใจของตัว กลายเป็นเอาทุกข์มาทับถมตนเองกันมากมาย

แม้แต่โลกธรรมทั้งหลาย ถ้าเราเอาปัญญาที่รู้เท่าทันมาวางใจให้ถูกต้อง แทนที่จะบอบช้ำหรือเสียหาย ก็สามารถเอาประโยชน์จากมันได้

เริ่ม ต้นก็มองเป็นประสบการณ์ที่เราได้เรียนรู้ ว่า อ้อนี่ เราได้เห็นแล้วไง ที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า เราอยู่ในโลก จะต้องเจอโลกธรรมเป็นธรรมดา เราก็เจอจริงๆ ความจริงมันก็เป็นอย่างนี้เอง เราได้เห็น ได้รู้แล้ว

เมื่อมองเป็นประสบการณ์สำหรับศึกษา เราเริ่มวางใจต่อมันถูกต้อง ตั้งหลักได้ ไม่ไปรับกระทบเอามาเป็นทุกข์ข้างใน ทับถมใจตัวเอง

ยิ่ง กว่านั้น เราก้าวต่อไป โดยคิดจะฝึกตนเอง พอทำใจว่าจะฝึกตัวเรา จะมองทุกอย่างในแง่มุมใหม่ เริ่มด้วยมองเป็นบททดสอบ คือ ทดสอบใจและทดสอบสติปัญญาความสามารถ ไม่ว่าดีหรือร้ายเข้ามา เราก็ได้ทุกที

อย่างน้อยก็ทำให้เราเข้มแข็งยิ่งขึ้น เหนือกว่านั้นก็ได้ฝึกฝน ได้พัฒนาตัว ยิ่งขึ้นไป โดยใช้เป็นบทเรียน เป็นต้น

เฉพาะอย่างยิ่ง ทุกข์เป็นแบบฝึกหัด เป็นเครื่องฝึกสติ ฝึกปัญญา ฝึกการแก้ปัญหา เป็นต้น

แม้แต่เคราะห์ ซึ่งเป็นโลกธรรมที่ร้าย ก็กลายเป็นโอกาสที่ตัวเราจะได้ฝึกฝนพัฒนา
__________________
ขอขอบคุณ  http://www.junjaowka.com/webboard/showthread.php?p=388403