ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: สายลมที่หวังดี
« เมื่อ: กุมภาพันธ์ 06, 2011, 12:15:03 pm »

  :12: ขอบคุณนะค่่ะคุณหนุ่ม
ข้อความโดย: sithiphong
« เมื่อ: กุมภาพันธ์ 06, 2011, 08:47:55 am »

ย่างเข้าวัยชรา โรคข้อเสื่อมก็ถามหา



ผู้สูงวัยส่วนใหญ่คงมีไม่น้อยที่ประสบปัญหาปวดเข่า บางคนคิดว่าแค่นวด ทายา หรือกินยา เป็นครั้งคราวไปก็น่าจะเพียงพอ

แต่จริงๆ แล้วอาการปวดเข่าอาจมีสาเหตุมาจากโรคข้อเสื่อม ที่ต้องรักษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อหยุดยั้งอาการปวดเข่าได้ในที่สุด
โรค ข้อเสื่อมเป็นความผิดปกติของข้อ พบในผู้ใหญ่อายุตั้งแต่ 45 ปีขึ้นไป และพบมากขึ้นเมื่ออายุมากขึ้นเรื่อยๆ เกิดจากภาวะเสื่อมของข้อที่ผ่านการใช้งานมานาน กระดูกอ่อนผิวข้อถูกทำลาย กระดูกงอกผิดรูป ทำให้เกิดอาการปวดข้อและเคลื่อนไหวข้อไม่สะดวก โรคข้อเสื่อมเป็นโรคที่สร้างความทรมานให้กับผู้ป่วย และทำให้คุณภาพชีวิตทรุดโทรมลง
แพทย์ ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคข้อเสื่อม มักแนะนำให้ผู้ป่วยโรคข้อเสื่อมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น หลีกเลี่ยงการนั่งยอง ๆ คุกเข่าเป็นเวลานาน ไม่ยกของหนักเป็นประจำ และส่งเสริมการออกกำลังกายบริหารกล้ามเนื้อรอบข้อ
กลูโคซามีน ซัลเฟต (Glucosamine sulfate) เป็นสารที่มีโครงสร้างเดียวกับผิวกระดูกอ่อนหุ้มข้อ และมีส่วนในการยับยั้งเอมไซม์ที่ย่อยสลายผิวกระดูกอ่อนได้ ผู้ป่วยต้องใช้ติดต่อกันอย่างน้อย 1 ปี เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ปัจจุบันมีผู้ผลิต กลูโคซามีน ซัลเฟตหลายราย ซึ่งวัตถุดิบที่นำมาใช้และขบวนการผลิตจะแตกต่างกัน ควรเลือกกลูโคซามีน ซัลเฟต ที่มีการศึกษารับรองผลการรักษา เพื่อให้ได้ผลทางการรักษาที่ดีที่สุด
ปัจจุบัน มีผู้ผลิตกลูโคซามีนซัลเฟตหลายราย ซึ่งวัตถุดิบที่นำมาใช้และขบวนการผลิตจะแตกต่างกัน ควรเลือกกลูโคซามีน ซัลเฟต ที่มีการศึกษารับรองผลการรักษา เพื่อให้ได้ผลทางการรักษาที่ดีที่สุด หากซื้อยาโดยไม่ตรวจสอบ อาจได้ยาคุณภาพต่ำจากผู้ผลิตที่ไม่ได้มาตรฐาน ก็เป็นอีกปัจจัยที่เพิ่มความเสี่ยงให้ผู้ป่วย ไม่ได้ผลทางการรักษาที่น่าพอใจ และทำให้โรคข้อเสื่อม ที่เป็นอยู่ทรุดลงไปเรื่อยๆ

http://www.posttoday.com/lifestyle/health-me/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A2/72897/%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%A3%E0%B8%B2-%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B9%87%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2

.

โพสต์ทูเดย์ Lifestyle : ย่างเข้าวัยชรา โรคข้อเสื่อมก็ถามหา

.