ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: มดเอ๊กซ
« เมื่อ: มีนาคม 08, 2011, 04:47:14 pm »

พระดำรัสสมเด็จพระสังฆราชฯ ในโอกาสเสด็จเยี่ยมวัดอ้อน้อย






อำนวยพรทุกท่าน ยินดีที่วันนี้ได้มาพบพระ เณร และ ญาติโยมวัดธรรมอิสระพร้อมกัน โดยเฉพาะหลวงปู่หนุ่มเจ้าอาวาสวัดนี้ก็อยู่ให้พบด้วย คงเป็นโชคดีประการหนึ่ง กิตติศักดิ์ท่านเจ้าอาวาสวัดนี้ดังมาก และ ก็ดังในทางดีมาก ๆ จึงนับว่าเป็นบุญของพระพุทธศาสนา ที่มีท่านมาช่วยสืบพระศาสนา และ ก็เป็นบุญของท่านทั้งหลายด้วยที่ได้มีโอกาสมาใกล้ชิดท่าน ได้เห็นปฏิปทาของท่าน
 

 

สมเด็จพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้ทรงสอนเทวดาไว้ว่า มงคลสูงสุดข้อแรก ข้อที่หนึ่งคือ การไม่คบคนพาล คือคนไม่ดี ด้วยการคบบัณฑิต คือคนดี เหมือนหลวงปู่หนุ่มวัดนี้เป็นบัณฑิตเป็นคนดี เมื่อท่านทั้งหลายมีบุญมีมงคลสูงสุด ได้พบท่าน ได้ใกล้ชิดท่านแล้ว ก็จงตั้งใจปฏิบัติตามท่านปฏิบัติ และ ปฏิบัติตามท่านสอน อาตมาไม่เคยได้ยินท่านสอน แต่เชื่อว่าท่านต้องสอนหัวใจพระพุทธศาสนา ๓ ประการด้วย คือไม่ทำบาปทั้งปวง การทำบุญกุศลทุก ๆ อย่าง และ ทำใจให้ผ่องใส มีโลภ โกรธ หลงให้น้อยลง น้อยลงเป็นลำดับ จนวันนี้ที่ได้มีความสุขสงบ มีชีวิตสว่างไสว แม้ทุกวันนี้โลกทั่ว ๆ ไปค่อนข้างวุ่น ค่อนข้างมืด ต้องขอแสดงความยินดีกับทุกท่าน ที่มีแสงสว่างอยู่ข้างตัว คือ หลวงปู่ของท่าน ช่วยกันรักษาท่านไว้ด้วยวิธีที่ท่านต้องชอบใจ คือทำตามท่านสอน

 



พระพุทธเจ้าได้ตรัสสอนไว้ว่า อัปปะมาทลตาโหฐะ ท่านทั้งหลายจงยินดี ในความไม่ประมาท คือในความที่มีสติปัญญา ควบคุมความประพฤติ ทางกาย ทางวาจา ทางใจ ทุกอย่าง ให้เป็น กายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต
 

 

เป็นบุญเป็นกุศล สจิตตมัลลขถะ ทั้งนี้ก็โดยที่ตรงตามรักษาจิตของตนด้วยมี สัญมัช ความระมัดระวังใจ และ ทมะ ความข่มใจ ทุกตาอุกทะระตากัง จงถอนตนให้ขึ้น จากหล่มอันนั้น แล ะยังได้สั่งสอนไว้ด้วยว่า ความคุ้นเคยไว้วางใจกันเป็นญาติอย่างยิ่ง สัมปะติปะระมังคะนัง ความสันโดษยินดีตามได้ ยถาพลสันโดษ ยินดีตามกำลัง และ ยถาปารุกสันโดษ ยินดีตามสมควรเป็นทรัพย์อย่างยิ่ง ความคุ้นเคยไว้วางใจกัน เป็นญาติอย่างยิ่ง นิพพานังปะระมังสุขัง นิพพานเป็นสุขอย่างยิ่งดังนี้ เป็นบรมธรรม 4 ประการ ซึ่งผู้ได้ฟังแล้วตั้งใจกำหนดจดจำ และ ยึดปฏิบัติตาม สมควรจะได้ความสุขทางจิตใจ และทางกายยิ่ง ๆ ขึ้นไป






 
 
http://www.facebook.com/note.php?note_id=10150173770515285