ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: เมษายน 20, 2011, 12:08:22 pm »




คารวะมหาคุรุ “คึกฤทธิ์”
Posted by : ทองแถม-นาถจำนง

วันที่ 20 เมษายน พ.ศ 2554 วาระร้อยปีชาตกาล
พลตรี ม.ร.ว คึกฤทธิ์ ปราโมช “สยามรัฐ”กราบคารวะบุคคลผู้เป็น “มหาคุรุ”
ของประเทศไทย และเป็นผู้ก่อตั้งหนังสือพิมพ์สยามรัฐฉบับนี้

องค์การยูเนสโก ของสหประชาชาติประกาศให้ท่านเป็นบุคคลสำคัญของโลก
คุณูปการของท่านมากมายนัก จารึกอย่างไรก็ไม่ครบถ้วน
ในฐานะองค์กรหนังสือพิมพ์อันเป็นมรดกที่ท่าน ม.ร.ว คึกฤทธิ์ ปราโมช สร้างไว้
จึงขอบูชาครูด้วยคำ “ครูวิชาหนังสือพิมพ์”
ม.ร.ว คึกฤทธิ์ ปราโมช เตือนเรื่องการใช้เสรีภาพของสื่อมวลชนอยู่เสมอ
มีคำกลอนบทหนึ่งที่คมคายมาก ดังนี้


 ๐ อันการใช้เสรีมีจังหวะ
 ขืนใช้ดะเพรื่อนักมักสะดุด
 คนทุกคนพลาดได้ใช่ปาปมุต
 เพื่อความยุติธรรมจำระมัด

 ระวังการพูดจาอย่าปล่อยหมด
 ควรออมอดอย่าให้เด่นเห็นถนัด
 เตือนเบาเบาไม่ต้องขู่ก็รู้ชัด
 ไม่ต้องขัดใจเขม่นเป็นอมิตร์

 ทำอย่างนี้แม้ประสบได้พบพักตร์
 ก็ยังทักคบกันได้ไม่หมางจิต
 การใช้คารมแรงเที่ยวแผลงฤทธิ์
 คือใช้สิทธิเปื่อยไปไม่ดีนัก

 เมื่อมีสิทธิ์สงวนสิทธิ์คิดให้ถูก
 จำต้องปลูกฝังสิทธิ์ไม่ผิดหลัก
 ต้องรับชอบรับผิดคิดพิทักษ์
 ต้องผ่อนหนักผ่อนเบาเร้าให้คิด

 คนใจจึงสำเหนียกเรียกมนุษย์
 ไม่มีหยุดอยู่ได้การใช้จิต
 เพียงแต่แนะให้เห็นเป็นนิมิตร์
 ก็จะคิดออกได้ไม่ยากนัก

 ผมไม่กลัวหรอกเรื่องตารางคุก
 อาจจะสุขกว่าข้างนอกบอกประจักษ์
 แต่คนเราเคยเป็นมิตร์สนิทรัก
 จะโหมหักกันไม่ลงบอกตรงเอย ๐


“ความพอเหมาะพอดี” ผดุงสังคมให้สงบสุข สิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น
เป็นสิทธิ์พื้นฐานที่ต้องรักษาสิทธิ์นั้น และควรใช้อย่างพอเหมาะพอดี.



 : http://www.oknation.net/blog/thongtham/2011/04/20/entry-1