ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: พฤษภาคม 13, 2011, 02:06:30 pm »


     

               ฝึกสติ รักษาสติ (สมเด็จพระญาณสังวรฯ) 

"ความคิด" สำคัญนัก แต่ "สติ" ก็สำคัญที่สุด เพราะต้อง "มีสติ" จึงจะรู้ทัน "ความ คิดของตนว่าเป็นไปอย่างไร" คิดปรุงแต่งไปให้ความโลภเกิด หรือให้ความโกรธเกิด หรือให้ความหลงเกิด "สติ"จะทำให้รู้ได้ถึงความคิด ดังกล่าว ไม่มีสติจะทำให้ไม่รู้ ดังนั้นพึงอย่าลืมว่า "สติสำคัญ พึงรักษาสติไว้ให้มั่น" และวิธีรักษาสติที่ง่ายประการหนึ่ง ก็คือ ให้หาหลักผูกสติไว้ อย่าให้หลุดลอยเลื่อนไหลไปตามสบาย หลักสำคัญที่สุดเป็นหลักแห่งมหามงคลที่แท้จริง คือ หลัก "พระพุทโธ" นั่นคือพยายามให้ใจ "คือให้สตินั่น เอง ติดอยู่กับหลักพระพุทโธ" คือท่อง "พุทโธ" ไว้ให้ทุกเวลานาที ที่ไม่วุ่นวายหนักหนาอยู่ด้วยธุรกิจการงานที่ต้องใช้ความคิด ใช้สมอง นั่นแหละคือการฝึกสติ หรือฝึกใจให้อยู่กับที่ อยู่กับหลัก "พระ พุทโธ" ทำไปเถิด สติจะมั่นคงขึ้นเป็นลำดับ การรู้ทันความคิดจะเกิดตามมาพร้อมกัน เป็นคุณสำคัญแก่ชีวิตอย่างแท้จริง

: แสงส่องใจ ๓ ตุลาคม ๒๕๔๕
: สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
ขอบคุณบทความจาก ธรรมจักร