ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: พฤษภาคม 13, 2011, 05:37:16 pm »





สรรพสิ่งคือของใช้ อย่าเข้าใจว่าเป็นของฉัน
ว.วชิรเมธี

ปุจฉา

ช่วงที่เหตุการณ์บ้านเมืองวุ่นวาย คนในประเทศทะเลาะแตกความสามัคคีกัน
ผมเกิดความเบื่อหน่ายอย่างมาก ไม่รู้จะช่วยชาติบ้านเมืองได้อย่างไร
เลยเลิกสนใจข่าวสารทุกชนิด ตั้งหน้าทำมาหากินสนใจแต่เรื่องปากท้องของตัวเอง
การกระทำเช่นนี้เรียกว่าเป็นการ "ปล่อยวาง" หรือไม่
การปล่อยวางต่างจากการวางเฉย ไม่ใส่ใจอย่างไร?

วิสัชนา

การปล่อยวางมี ๒ ประเภท
(๑) การปล่อยวางด้วยความรู้
(๒) การปล่อยวางความเขลา

การ ปล่อยวางด้วยความรู้เกิดขึ้น เพราะผู้ปล่อยวางนั้น ตระหนักรู้เท่าทันความจริงของโลกและชีวิตว่า ไม่อาจยึดเอาสิ่งใดมาเป็นของตนได้อย่างถาวร เพราะสรรพสิ่งล้วนตกอยู่ภายใต้กฎไตรลักษณ์ (กฎธรรมชาติที่เป็นสากลสำหรับทุกสิ่ง) ที่ว่า

"ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา"
หรือ
"ไม่เที่ยง ไม่ทน ไม่แท้"
หรือแปลอีกนัยหนึ่งว่า
"ไม่แน่ ไม่ได้ดั่งใจ ไม่มีอะไรสมบูรณ์"


สรรพ สิ่งในโลกนี้ ล้วนมีความไม่เที่ยง คือ เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เป็นทุกข์ คือ ไม่สามารถทนอยู่ในลักษณะเดิมตลอดไป ทนอยู่ได้ก็ชั่วครู่ชั่วคราว

และ สรรพสิ่งล้วนเกิดจากองค์ประกอบที่แตกต่างหลากหลาย มารวมตัวกันเป็นกลุ่ม เป็นก้อน เป็นองค์รวม แต่ก็รวมกันได้เพียงชั่วครั้งชั่วคราว ในที่สุดแล้วก็มีอันจะต้องแตกดับ สลายไป เหมือนกันทั้งหมด

ในเมื่อ ความจริงของสิ่งต่างๆ เป็นอย่างนี้ เราจึงไม่อาจ "ยึด" เอาอะไรมาเป็น "ของเรา" ได้อย่างแท้จริง เรา "ยึด" สิ่งต่างๆ ว่าเป็นของเราได้เพียงชั่วคราวในลักษณะของที่ขอ "ยืม" เขามาเท่านั้น ในเมื่อสรรพสิ่งที่เรามีอยู่ล้วนเป็นเหมือนของที่ยืมเขามา เมื่อถึงเวลาก็ต้องส่งคืนด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น เช่น

เรายืมอากาศมาหายใจ ในที่สุดก็ต้องคืนสู่ธาตุลม
เรายืมดินมาเป็นร่างกาย ในที่สุดก็ต้องคืนสู่ธาตุดิน
เรายืมไฟมาเป็นความอบอุ่น ในที่สุดก็ต้องคืนสู่ความเป็นธาตุไฟ
เรายืมน้ำมาหล่อเลี้ยงร่างกาย ในที่สุดก็ต้องคืนสู่ธาตุน้ำ

ขยาย ความให้กว้างออกไปจนครอบคลุมสิ่งของ เช่น เสื้อผ้า บ้านเรือน รถ เงินทอง ไร่นา ฯลฯ ตลอดจนถึงโลกธรรมอันเป็นที่ชื่นชม เช่น ได้ลาภ (จะมีเสื่อมลาภรอเตือนให้คืนลาภอยู่ในตัว (ได้ยศ จะมีอัปยศรอทวงอยู่) สรรเสริญ (จะมีนินทารออยู่) สุข (จะมีทุกข์รออยู่) เห็นไหมว่า สรรพสิ่งล้วนตกอยู่ในความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และเป็นอนัตตาหรือไม่เที่ยง ไม่ทน ไม่แท้ แม้แต่เพียงอย่างเดียว

ดังนั้น เราจึงไม่อาจยึดเอาอะไรมาเป็น "ของเรา" ได้อย่างแท้จริง เราทำได้แค่เพียงใช้ มี ครอบครอง สิ่งต่างๆ ได้เพียงชั่วคราว ด้วยความตระหนักรู้ว่า "ไม่มีสิ่งใดเป็นของเราอย่างแท้จริง" หรือสรุปง่ายๆ ก็คือ

"สรรพสิ่ง คือ ของใช้ อย่าเข้าใจว่าเป็น ของฉัน"

ส่วน การปล่อยวางอย่างที่คุณยกตัวอย่างมานั้น เป็นเพียง "ปฏิกิริยา" ต่อบางสิ่งที่ไม่ได้ดั่งใจเท่านั้น ยังไม่ใช่การปล่อยวางที่แท้จริงแต่อย่างใด วิธีปฏิบัติต่อสิ่งต่างๆ ที่เราเบื่อ แล้วหันหลังให้นั้น หากจะถือว่าเป็นการปล่อยวาง ก็เป็นเพียงการปล่อยวางใน "ภาษาคน" ยังไม่ใช่การปล่อยวางใน "ภาษาธรรม" แท้ๆ

ใน เมื่อไม่ใช่การปล่อยวางแท้ เดี๋ยวคุณก็จะมีโอกาสกลับมาทุกข์กับสิ่งที่คุณ "ทำท่าเหมือนจะปล่อยวาง" นั้นอีกครั้งหนึ่งไม่เร็วก็ช้า ไม่วันใดก็วันหนึ่ง

แต่อย่างไรก็ตาม หากทำแล้ว ทำให้สุขภาพจิตดีขึ้น การถอยออกมาจากบางสิ่งที่กัดกินใจให้หมองหม่นก็เป็นสิ่งที่ควรทำบ้างเหมือนกัน