ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: lek
« เมื่อ: พฤษภาคม 14, 2011, 08:53:52 pm »

สาระเล็ก ๆ น้อย ๆ ให้กับชีวิต

 

ในโลกนี้มีหลายสิ่งเกิดขึ้นจริง แต่ไม่มีสิ่งใดเลยที่เป็นตัวเป็นตนจริงๆ
ไม่นานก็ต้องเปลี่ยนจากความเป็นอย่างหนึ่งไปสู่ความเป็นอีกอย่างหนึ่งแล้ว
 
แต่ละปีคือขั้นบันไดลงสู่หลุมศพ ทุกขั้นบันไดมีทั้งเสบียง
และความว่างเปล่าโรยอยู่ แล้วแต่คุณจะมองเห็นอะไรก่อน
และเต็มใจเก็บอะไรไปบ้าง
 
ถ้าแม้แต่ตาที่ใสสว่างยังมองไม่เห็นขั้นปัจจุบัน
แล้วใจที่มืดบอดจะเห็นขั้นต่อไปได้อย่างไร
 
การเสียเวลาให้กับความเศร้าหนึ่งนาที อาจไม่ได้หมายถึง
การสูญเวลาในชีวิตไปเปล่าๆแค่หนึ่งนาที
แต่อาจหมายถึงนาทีแรกของปีที่สูญเปล่าเลยก็ได้
 
ไข้หนักอาจห้ามไม่ให้คุณขยับตัวไปทำความดี
หรือกระทั่งง้างกรามขึ้นพูดดี
แต่มันไม่สามารถห้ามคุณให้เลิกคิดอะไรดีๆได้เลย
 
คุณจะรู้ว่าร่างกายแข็งแรงแค่ไหนก็จากความสามารถต้านไข้
หรือความรวดเร็วในการฟื้นไข้ และคุณจะรู้ว่าจิตใจเข้มแข็งขนาดไหน
ก็จากความสามารถต้านความเศร้า หรือความรวดเร็วในการหายเศร้า
 
ถ้าจะพักอย่าพักแบบนิ่งซมคล้ายตายแล้ว
แต่ให้นิ่งพักอย่างรู้สึกว่ายังมีชีวิตอยู่
 
แม้คุณจะยังไม่พบหลักฐานว่าชีวิตมีค่า
แต่ศรัทธาในคุณค่าของชีวิตจะทำให้คุณมีแก่ใจใช้ชีวิตอย่างดี
จนกระทั่งกลายเป็นชีวิตดีๆ ควรค่าแก่การเกิดมา
 
ร่างของคนตายไม่แตกต่างกัน และไม่แน่ว่าคนเป็นจะต่างจากคนตาย
วิธีแน่ใจว่าคุณแตกต่างจากคนตาย คือการไม่ปล่อยให้นาทีนี้
ผ่านไปด้วยอาการงอมืองอเท้า
 
การรู้ตัวว่ายังมีชีวิตไม่ใช่เรื่องน่าดีใจ
ความภูมิใจในการมีชีวิตต่างหากที่ใช่
 
อยู่อย่างไร้ค่า เพราะไม่หาเรื่องน่าภูมิใจให้ตัวเองทำ
 
คนส่วนใหญ่ใช้เวลาเกือบทั้งชีวิตไปในการทำเรื่องน่าอาย
แต่ชั่วขณะที่ทำก็สำคัญว่าเป็นเรื่องน่าภูมิใจ
 
โลกจะเปลี่ยนแปลงไปนิดหนึ่ง ในทันทีที่คุณแตกต่างไปจากเดิม
 
พายุฝันที่วกวนขณะหลับตาไม่ใช่คำพยากรณ์
ไฟฝันที่ลุกโชนขณะลืมตาต่างหากที่ใช่
 
คุณจะใช้ชีวิตอย่างไรก็เป็นทุกข์อยู่ดี
แต่โดยแท้ที่จริงแล้ว คุณไม่จำเป็นต้องเป็นทุกข์ก็ได้
 
จาก... ดังตฤณ
กรกฎาคม ๕๒

 

• • • • •  • • • • • • • •  • • • • • • • •  • • • • • •