ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แปดคิว
« เมื่อ: มิถุนายน 05, 2011, 09:20:33 pm »

อนึ่งการเผชิญภาวะต่างๆนั้นคือ " กรรมเก่า "
การตัดสินใจเลือกการตอบสนองนั้นคือ" กรรมใหม่ "
ตัวอย่างเช่น นายดำเคยประทุษร้ายบุคคลผู้ไม่ผิดแต่กาลก่อน มาในบัดนี้กรรมนั้น
ทำให้นายดำถูกประทุษร้ายโดยไม่ผิด เมื่ออยู่ในภาวะเผชิญเช่นนี้ นายดำสามารถเลือกตอบสนองได้ 3วิธีคือ
1. วางเฉย ก็เป็นอันว่าได้รับผลกรรมแล้ว กรรมนั้นก็สิ้นสุดลง
2. ประทุษร้ายตอบ ก็เป็นอันว่ารับกรรมเก่าและก็สร้างกรรมดำใหม่ขึ้นอีก
ในกาลต่อไปก็จักโดนประทุษร้ายอีกแน่นอน
3. อภัยและเมตตา ก็เป็นอันว่ารับกรรมเก่าแล้ว ก็สร้างกรรมขาวใหม่ขึ้น
 ในกาลต่อไปศัตรูนั้นก็จักกลายมาเป็นมิตร

พระพุทธองค์ตรัสว่า " หว่านพืชเช่นไร ก็ได้รับผลเช่นนั้น "

เพราะฉะนั้นต่อไปภายภายหน้าหากเราเกิดโมโหเพราะมีคนดูถูกเรา ก็จงย้อนระลึกนึกถามตัวเองก่อนว่า
" เราเคยดูถูกคนอื่นบ้างไหม? " และควรจะบอกกับตัวเองว่า " สิ่งที่เราได้รับอยู่นี้เป็นผลจากการกระทำที่ไม่ดีของเราในอดีต เราควรยอมรับเคราะห์กรรมนี้โดยไม่เคืองแค้นใครๆ เมื่อมันผ่านพ้นไปก็คือ เราได้ชดใช้หนี้กรรมของเราให้หมดไปครั้งหนึ่ง "
แท้จริงแล้วการที่เราทำอย่างนี้ ไม่เพียงแต่ชดใช้หนี้กรรมเท่านั้น แต่เรายังได้พิจารณาอุปนิสัย มีความอดกลั้นแลฝึกหัดระงับอารมณ์ของเราด้วย ......

From:   
narissara saitham
ข้อความโดย: rain....
« เมื่อ: มิถุนายน 05, 2011, 02:36:32 pm »

หนี้กรรม...ชำระด้วยธรรม



กรรม คือ การกระทำ
ที่ประกอบด้วยเจตนา

หนี้ คือ สิ่งต้องชดใช้ ต้องชำระ

อยากหนีกรรม
จงอย่าสร้างกรรม

หนี้กรรม
คือ ผลที่เกิดจากกระทำของตนเอง
ทั้งดีและไม่ดี
ทั้งทางกาย วาจา และใจ

หนี้กรรมหมดได้
ต้องชดใช้กรรม
จะช้าหรือเร็ว
อยู่ที่แรงกรรมที่กระทำ

แต่ผลแห่งกรรมที่เกิดขึ้น
ล้วนเกิดจากกระทำของตนเองทั้งนั้น

การจะหนีหนี้กรรมได้นั้น
ต้องหมั่นชำระจิตใจของตนเอง
พยายามเติมความดีมาก ๆ
เพื่อชำระให้ความไม่ดีลดน้อย เบาบางลง

เหมือนภาชนะแก้วใส
ที่ไม่ว่าจะเติมสิ่งใด ๆ ลงไป
ก็จะสามารถรับรู้และมองเห็นได้อย่างชัดเจน

หากเปรียบความชั่ว เหมือนเกลือ
ความดี เหมือนน้ำ
ภาชนะแก้วใส เหมือนจิตใจ

แล้วลองนำเอาสิ่งต่าง ๆ
ใส่ลงไปในภาชนะแก้วใส คือ จิตใจของเรา
เช่น บางคนอาจจะเอาเกลือ คือ ความชั่ว
ใส่ลงไปในภาชนะแก้วใสมากกว่าน้ำ คือ ความดี
รับรองได้ว่า แก้วใบนั้นจะต้องมีรสเค็มแน่นอน

หากเราเอาความดี คือ น้ำ
ใส่ลงไปเยอะ ๆ
มีปริมาณมากกว่าความชั่ว คือ เกลือ
น้ำในแก้วนั้นก็จืดจาง

น้ำ คือ ความดีของเรา
ยิ่งเติมมาก กระทำให้มากเท่าไรยิ่งดี



 :07: :07: :07: :07:

ที่มา พลังจิต.คอม