ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: มิถุนายน 14, 2011, 11:06:33 am »





[๔๐๓] ได้ยินว่าพระผู้มีพระภาค ทรงกล่าวสอนนางมุตตาสิกขมานาเนืองๆ ด้วยพระคาถา
นี้ อย่างนี้ว่า
ดูกรนางมุตตา เธอจงเปลื้องจิตจากกิเลสเครื่องประกอบทั้งหลาย ดุจ
พระจันทร์ถูกราหูจับแล้วพ้นจากเครื่องเศร้าหมอง ฉะนั้น เธอมีจิตหลุด
พ้นแล้ว จงไม่มีหนี้บริโภคก้อนข้าวเถิด.

อภินิหารตัวจริง อยู่ที่จิตหลุด
http://www.oknation.net/blog/tocare/2008/04/30/entry-1

ปญฺญาย อตฺถํ ปชานาติ ความว่า บุคคลผู้เป็นพหูสูตตั้งอยู่ในสุตมยญาณ
(ญาณอันสำเร็จด้วยการฟัง) แล้วปฏิบัติอยู่ซึ่งข้อปฏิบัตินั้น ย่อมรู้และแทงตลอด
อรรถอันต่างด้วยโลกิยะและโลกุตระ
จำแนกออกเป็นทิฏฐธรรมเป็นต้นและจำแนกออกโดยอริยสัจ
มีทุกขสัจเป็นต้น ด้วยการสอบสวนข้อความตามที่ได้ฟังมาและด้วยภาวนาคือการเข้าไปเพ่งธรรม.

ญาโต อตฺโถ สุขาวโห ความว่า ประโยชน์มีทิฏฐธรรมิกัตถประโยชน์เป็นต้นก็ดี
ประโยชน์ในทุกขสัจเป็นต้นก็ดี ตามที่กล่าวแล้วที่ตนรู้แล้ว คือบรรลุแล้วตามความเป็นจริง
ย่อมนำมา
คือให้สำเร็จความสุขต่างโดยโลกิยสุขและโลกุตรสุข.
ประโยชน์ย่อมไม่มี แก่ผู้ที่มีปัญญาภาวนาตามที่ตนทรงไว้ ด้วยเหตุเพียงการฟังอย่างเดียวเท่านั้น
เพราะฉะนั้น พระเถระเมื่อจะแสดงถึงวิธีปฏิบัติแห่งภาวนาปัญญานั้น จึงกล่าวว่า
ภิกษุควรซ่องเสพเสนาสนะอันสงัด ควรประพฤติธรรมอันเป็นเหตุให้จิตหลุดจากสังโยชน์



กาม

" บรรดาครูอาจารย์เหล่านั้น ที่สึกออกไป ล้วนแต่เพราะกามทั้งสิ้น
เป็นไปตามอำนาจของกาม กามนี้เป็นอุปสรรคเครื่องขัดขวางบุคคลผู้มุ่งมั่นต่อความดี

ในแนวทางของพระพุทธศาสนา บรรดาสัตว์ทั้งหลายยอมตาย ก็เพราะกามนี้มามากต่อมาก
เพราะความสำคัญผิด ไม่รู้จักโทษของกามที่แท้จริง ปล่อยใจปล่อยกาย
ให้ตกไปสู่
อำนาจของกามเข้า
เมื่อถูกกามครอบงำจิตแล้ว ก็ยังไม่รู้สึก สำคัญผิดคิดว่าดี จึงยอมตัวลงบำรุงบำเรอ
ท้ายที่สุด ก็ถอนตัวไม่ออก”

หลวงปู่แหวน

อุบายภาวนาอย่างอิสระ

หลวงพ่อพุธ ฐานิโย วัดป่าสาลวัน นครราชสีมา เมื่อครั้งท่านเป็นเณรใหญ่
อยู่ที่วัดปทุมวนาราม กรุงเทพฯ
เวลานั่งสมาธิ ก็เห็นแต่ใบหน้าของหญิงสาว เวลาบริกรรม ว่า พูทโธ ก็กลายเป็น
ว่าชื่อผู้หญิงแทน
ท่านจึงตัดสินใจ ใช้ชื่อผู้หญิงเป็นคำบริกรรมแทนคำว่า พุทโธ ก็ทำให้จิตสงบ
เกิดสมาธิ ได้เหมือนกัน
หลวงพ่อ จึงได้หลักว่า การภาวนา จะใช้คำบริกรรมอะไรก็ได้ เป็นอุบาย
หาสิ่งให้ใจมันยึดเกาะ พอจิตสงบ คำบริกรรมนั้น ก็หายไป

หลวงปู่ชา สุภทฺโท วัดหนองป่าพง อุบลราชธานี เวลาภาวนา จิตท่านวิตกเกี่ยวกับเรื่องกาม
ท่านก็แก้ได้โดยยกอวัยวะเพศและอุจจาระของผู้หญิงขึ้นมาพิจารณาในสมาธิ
พิจารณาให้เห็นธรรมชาติอย่างชัดเจน ทำให้พบว่าความงามเป็นภายนอกล่อลวงหลอก
ท่านจึงสามารถตัดขาดได้ คือตัดได้ด้วยปัญญาที่รู้เท่าทัน

เรื่องเล่าหลวงปู่แหวน
โอวาทธรรมที่องค์ หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ได้ ให้เป็นคติแก่หลวงปู่แหวน สุจิณโณ....
จากการที่หลวงปู่แหวนท่านถามหลวงปู่มั่นว่า ทำไมจึงไม่อนุญาตให้
หลวงปู่ทองรัตน์(อาจารย์ของหลวงปู่ชา สุภัทโท)
ญัตติเป็นธรรมยุติ.ท่านตอบว่า"....ถ้าพากันมาญัตติเป็นธรรมยุติเสีย หมดแล้ว
ฝ่ายมหานิกายจะไม่มีใครแนะนำปฏิบัติ....." และตามด้วยคติธรรมที่ลึกซึ้งจับใจว่า
"....มรรคผลไม่ได้ขึ้นอยู่กับนิกาย
แต่มรรคผลขึ้นอยู่กับการปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ ตามธรรมวินัยที่พระพุทธเจ้า
ได้ทรงแนะนำสั่งสอนไว้แล้ว



อยากเข้าใจ ก็ไม่เข้าใจ เมื่อทำนาบนแผ่นดิน อยู่บนแผ่นดิน
เมื่ออยู่กับฐาน ความเข้าใจโผล่ขี้นมา ก็ถอนรากความเข้าใจออกเสีย
วิสุทธิ วิมุติ คือรู้ที่จะกำจัดและคลายกำหนัดจากกริยา


ความรู้อันนี้ เป็นเรื่องเหนือความเข้าใจทั้งมวล

เมื่อเสวยความเข้าใจอย่างถูกมัดตัว เรียกว่าบุถุชนผู้มิได้เรียนรู้
ผู้ประกอบด้วย
ชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายาส
เราเรียกว่าผู้ประกอบด้วยทุกข์


นี้แลเป็นความพิเศษ เป็นความแปลก เป็นข้อแตกต่างระหว่างอริยสาวก
ผู้ได้เรียนรู้ กับปุถุชนผู้มิได้เรียนรู้

เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย สังขารจึงมี
เพราะสังขารเป็นปัจจัย วิญญาณจึงมี
เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย นามรูปจึงมี
เพราะนามรูปเป็นปัจจัย สฬายตนะจึงมี

เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย ผัสสะจึงมี
เพราะผัสสะเป็นปัจจัย เวทนาจึงมี
เพราะเวทนาเป็นปัจจัย ตัณหาจึงมี
เพราะตัณหาเป็นปัจจัย อุปทานจึงมี


ปุถุชนผู้เรียนรู้ เพิ่มอีก 8 ตัว อริยะสาวกไม่เหลือสักตัว



Credit by : http://agaligohome.com

นำมาแบ่งปันโดย : miracle of love
Pics by : Google
อกาลิโกโฮม * สุขใจดอทคอม
ใต้ร่มธรรมดอทเน็ท
อนุโมทนาสาธุที่มาทั้งหมดมากมายค่ะ