ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ดอกไม้ในที่ลับตา ~ ღ
« เมื่อ: กรกฎาคม 18, 2011, 06:39:36 pm »

มีพุทธวจนะ อริยะเจ้า ท่านเคยกล่าวเมตตาสอนว่า :
 
  " พึงทำจิตให้ ไร้ยึดติด ใน สภาวะใดๆ ..หาก ขจัดทิ้งซึ่ง ๓ จิต ๔ รูปลักษณ์ ได้ ..จิตย่อมสงบ ใส เย็น หวนคืนเช่น แท้เดิมมา " ..
 
 
  อัน ๓ จิต นั้น ประกอบไปด้วย
 
จิตอดีต      -  หมายถึง  จิตที่จดจำ ระลึกถึงเรื่องราวทั้งร้ายดีที่ผ่านมา ณ.วันวาน ในอดีต โดยมากสิ่งที่ระลึกได้หมายจำ จะ จมจ่มอยู่นั้น มักเป็น สิ่งที่ไม่ดี เป็นเรื่องร้าย ฝังใจ กลัว หรือ โกรธ แค้น อาฆาต พยาบาท รวมไปสิ่งเรื่องที่ใครมาทำร้ายเรา/คนที่เรารักให้เจ็บช้ำน้ำใจ อย่างแสนสาหัส  ... ซึ่งอันที่จริง ควรละวาง ได้ตั้งนานแล้ว ปล่อยให้มันผ่านไป เพราะจริงๆ เรื่องราวทั้งหลายเหล่านั้นได้ล่วงเลยผ่านไปแล้ว หรือ อาจผ่านมาเป็นเวลาเนิ่นนานมากแล้ว .. แต่ จิตใจเรานั่นแหละค่ะ ที่กำไว้ กดมันไว้ กักเก็บมันไว้ ..เพื่อขุดมาทำร้ายตัวเอง ...ทั้งๆที่ทุกอย่างผ่านไปแล้ว และไม่สามารถย้อนเวลากลับไปแก้ไขได้อีกแล้ว ... หากเลือกที่เก็บแล้ว ต้องเก็บอย่างมีปัญญา มีศิลปะ คือ เก็บแบบ" จำ" แต่ " ไม่จม" ..  เท่านั้นจึงจะทำให้เราเก็บอดีตไว้ได้โดยไม่ทำร้ายจิตตัวเอง  .. แต่ตรงกันข้าม " เก็บไว้" เป็นเครื่องเตือนสติ เป็นครูสอนใจ ..และ นำไป แบ่งปันแชร์เป็นประการณ์ชี้แนะ ช่วยเหลือผู้อื่นที่เคยประสบความทุกข์เช่นเราในอดีต .. เช่นนี้ จิตจึงจะไม่หลงย้อน กลับไปติดยึดในอดีต ความทุกข์ ความเจ็บปวดที่ผ่านมา ..

จิตปัจจุบัน  - หมายถึงจิตตอนที่เรากำลังดำเนินชีวิตเรื่องราว สิ่งต่างๆ ณ. วันนี้  .. แต่เหตุใดท่าน จึงสอนว่า มิให้ยึด /หรือ ยึดปัจจุบันก็ไม่ดี ก็ไม่ได้ เพราะอะไร เหตุใดกันหนอ? ..  เพราะ หากเรายึด/ติดอยู่ในจิตปัจจุบัน .. และยึดมากอาจมากเกินไปจนไม่รู้ตัวแล้ว  หากว่าจู่ๆ เรื่องราวหรือเหตุการณ์บางอย่างที่ไม่คาดคิด ไม่พึงปรารถนา ไม่อยากที่จะให้เกิด แต่ใครเล่าจะห้ามได้ .. เพราะเป็นที่รู้ๆกันอยู่ว่า "สรรพสิ่ง ใดใดในโลกนี้ ล้วนอนิจจัง" .. ความแน่นอน ก็คือ ความไม่แน่นอน .. ไม่มีผู้ใดที่จะคาดเดาได้ว่า อะไรจะเกิดขึ้นกับชีวิตของตน .. ถ้ายึดปัจจุบัน มากเกินไป ..ก็จะทำให้ ทำใจไม่ได้ หรือ อาจขาดสติ ...ถ้าเกิด สิ่งไม่คาดคิดในชีวิตเรา/คนรอบข้างที่เรารัก ห่วงใย ขึ้นแบบฉับพลัน ปัจจุบันทันด่วน ..ดังนั้นแล้ว พึงมีสติอยู่กับปัจจุบัน แต่ก็อย่ายึดมั่น ถือมั่น จนเกินไป .. พร้อมที่จะทำใจวางอุเบกขา และ มีสติรับมือกับทุกเรื่องราวที่อาจผ่านเข้ามาแบบไม่ทันตั้งตัวให้จงได้เสมอ..


จิตอนาคต  - หมายถึงจิตในกาลเวลาในวันข้างหน้า เรื่องราว/สิ่งใดๆที่ยังมาไม่ถึง .. ของวันพรุ่งนี้ และ วันต่อๆไป .. จึงมิต้องไปกังวล ยึดเหนี่ยวเกี่ยวข้อง เพ้อฝัน ตีตนไปก่อนไข้ .. หรือ มุ่งหวังว่า คาดว่า จะเกิดสิ่งใด หรือ ทำอะไร  .. เพราะเรามิอาจล่วงรู้ได้ จะเกิดอะไรขึ้น หรือ "จะมีพรุ่งนี้" สำหรับเรา หรือเปล่า? ก็ยังไม่แน่ อีกเช่นกัน .. ดังนั้น จิตนี้ ก็ ยึดไม่ได้อีก .. แล้ว เราควร อยู่กะจิตแบบไหนเล่า เพราะ ทั้ง๓จิต ล้วนอยู่ไม่ได้ .. เอาละสิคะ .. เริ่มงง กันแล้วใช่ป่ะคะ .. ไม่ต้องคิด/งง นาน ค่ะ .. เพราะ จะเฉลย ให้ฟัง เดี๋ยวนี้แล้วค่ะ ว่า คำตอบคือ " จิต ณ.ขณะนั้น" หรือ "จิตว่าง" .. (เป็นจิตปัจจุบันขณะ ที่ซ้อน คำว่า "จิตปัจจุบันกาล" อีกทีค่ะ)  ... เพราะ คำว่า  " จิต ณ.ขณะนั้น"  ขณะนี้ ตรงนี้ หรือ เรียกเป็นภาษาธรรมะ ว่า "จิตว่าง"  คือ ว่างจาก ความคิด และ การยึดติดใน ทั้งจิต๓ สภาวะกาณณ์ข้างต้น ( คือ ว่าง/ไร้ทั้ง จิตอดีต , จิตปัจจุบัน และ จิตอนาคต..)  เพราะเจ้าจิตว่างนี้จะเปลี่ยนไปเรื่อยๆ รวดเร็วดุจไร้กาลเวลาค่ะ ..
ข้อความโดย: ดอกไม้ในที่ลับตา ~ ღ
« เมื่อ: กรกฎาคม 18, 2011, 06:39:34 pm »

มีพุทธวจนะ อริยะเจ้า ท่านเคยกล่าวเมตตาสอนว่า :
 
  " พึงทำจิตให้ ไร้ยึดติด ใน สภาวะใดๆ ..หาก ขจัดทิ้งซึ่ง ๓ จิต ๔ รูปลักษณ์ ได้ ..จิตย่อมสงบ ใส เย็น หวนคืนเช่น แท้เดิมมา " ..
 
 
  อัน ๓ จิต นั้น ประกอบไปด้วย
 
จิตอดีต      -  หมายถึง  จิตที่จดจำ ระลึกถึงเรื่องราวทั้งร้ายดีที่ผ่านมา ณ.วันวาน ในอดีต โดยมากสิ่งที่ระลึกได้หมายจำ จะ จมจ่มอยู่นั้น มักเป็น สิ่งที่ไม่ดี เป็นเรื่องร้าย ฝังใจ กลัว หรือ โกรธ แค้น อาฆาต พยาบาท รวมไปสิ่งเรื่องที่ใครมาทำร้ายเรา/คนที่เรารักให้เจ็บช้ำน้ำใจ อย่างแสนสาหัส  ... ซึ่งอันที่จริง ควรละวาง ได้ตั้งนานแล้ว ปล่อยให้มันผ่านไป เพราะจริงๆ เรื่องราวทั้งหลายเหล่านั้นได้ล่วงเลยผ่านไปแล้ว หรือ อาจผ่านมาเป็นเวลาเนิ่นนานมากแล้ว .. แต่ จิตใจเรานั่นแหละค่ะ ที่กำไว้ กดมันไว้ กักเก็บมันไว้ ..เพื่อขุดมาทำร้ายตัวเอง ...ทั้งๆที่ทุกอย่างผ่านไปแล้ว และไม่สามารถย้อนเวลากลับไปแก้ไขได้อีกแล้ว ... หากเลือกที่เก็บแล้ว ต้องเก็บอย่างมีปัญญา มีศิลปะ คือ เก็บแบบ" จำ" แต่ " ไม่จม" ..  เท่านั้นจึงจะทำให้เราเก็บอดีตไว้ได้โดยไม่ทำร้ายจิตตัวเอง  ..การเก็บเช่นนี้จะให้ผลตรงกันข้ามกับการเก็บกด กักไว้ทำร้ายตัวเอง .. เพราะ คือการ " เก็บไว้" เป็นเครื่องเตือนสติ เป็นครูสอนใจ ..และ นำไป แบ่งปันแชร์เป็นประการณ์ชี้แนะ ช่วยเหลือผู้อื่นที่เคยประสบความทุกข์เช่นเราในอดีต .. เช่นนี้ จิตจึงจะไม่หลงย้อน กลับไปติดยึดในอดีต ความทุกข์ ความเจ็บปวดที่ผ่านมา ..

จิตปัจจุบัน  - หมายถึงจิตตอนที่เรากำลังดำเนินชีวิตเรื่องราว สิ่งต่างๆ ณ. วันนี้  .. แต่เหตุใดท่าน จึงสอนว่า มิให้ยึด /หรือ ยึดปัจจุบันก็ไม่ดี ก็ไม่ได้ เพราะอะไร เหตุใดกันหนอ? ..  เพราะ หากเรายึด/ติดอยู่ในจิตปัจจุบัน .. และยึดมากอาจมากเกินไปจนไม่รู้ตัวแล้ว  หากว่าจู่ๆ เรื่องราวหรือเหตุการณ์บางอย่างที่ไม่คาดคิด ไม่พึงปรารถนา ไม่อยากที่จะให้เกิด แต่ใครเล่าจะห้ามได้ .. เพราะเป็นที่รู้ๆกันอยู่ว่า "สรรพสิ่ง ใดใดในโลกนี้ ล้วนอนิจจัง" .. ความแน่นอน ก็คือ ความไม่แน่นอน .. ไม่มีผู้ใดที่จะคาดเดาได้ว่า อะไรจะเกิดขึ้นกับชีวิตของตน .. ถ้ายึดปัจจุบัน มากเกินไป ..ก็จะทำให้ ทำใจไม่ได้ หรือ อาจขาดสติ ...ถ้าเกิด สิ่งไม่คาดคิดในชีวิตเรา/คนรอบข้างที่เรารัก ห่วงใย ขึ้นแบบฉับพลัน ปัจจุบันทันด่วน ..ดังนั้นแล้ว พึงมีสติอยู่กับปัจจุบัน แต่ก็อย่ายึดมั่น ถือมั่น จนเกินไป .. พร้อมที่จะทำใจวางอุเบกขา และ มีสติรับมือกับทุกเรื่องราวที่อาจผ่านเข้ามาแบบไม่ทันตั้งตัวให้จงได้เสมอ..


จิตอนาคต  - หมายถึงจิตในกาลเวลาในวันข้างหน้า เรื่องราว/สิ่งใดๆที่ยังมาไม่ถึง .. ของวันพรุ่งนี้ และ วันต่อๆไป .. จึงมิต้องไปกังวล ยึดเหนี่ยวเกี่ยวข้อง เพ้อฝัน ตีตนไปก่อนไข้ .. หรือ มุ่งหวังว่า คาดว่า จะเกิดสิ่งใด หรือ ทำอะไร  .. เพราะเรามิอาจล่วงรู้ได้ จะเกิดอะไรขึ้น หรือ "จะมีพรุ่งนี้" สำหรับเรา หรือเปล่า? ก็ยังไม่แน่ อีกเช่นกัน .. ดังนั้น จิตนี้ ก็ ยึดไม่ได้อีก .. แล้ว เราควร อยู่กะจิตแบบไหนเล่า เพราะ ทั้ง๓จิต ล้วนอยู่ไม่ได้ .. เอาละสิคะ .. เริ่มงง กันแล้วใช่ป่ะคะ .. ไม่ต้องคิด/งง นาน ค่ะ .. เพราะ จะเฉลย ให้ฟัง เดี๋ยวนี้แล้วค่ะ ว่า คำตอบคือ " จิต ณ.ขณะนั้น" หรือ "จิตว่าง" .. (เป็นจิตปัจจุบันขณะ ที่ซ้อน คำว่า "จิตปัจจุบันกาล" อีกทีค่ะ)  ... เพราะ คำว่า  " จิต ณ.ขณะนั้น"  ขณะนี้ ตรงนี้ หรือ เรียกเป็นภาษาธรรมะ ว่า "จิตว่าง"  คือ ว่างจาก ความคิด และ การยึดติดใน ทั้งจิต๓ สภาวะกาณณ์ข้างต้น ( คือ ว่าง/ไร้ทั้ง จิตอดีต , จิตปัจจุบัน และ จิตอนาคต..)  เพราะเจ้าจิตว่างนี้จะเปลี่ยนไปเรื่อยๆ รวดเร็วดุจไร้กาลเวลาค่ะ ..
ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: กันยายน 17, 2010, 12:04:33 am »

 :13: ขอบคุณครับพี่แป้ง ^^

อ้างถึง
ครูบัวจำอะไรไม่ได้แล้วจริงๆหรือครับ.. 
เอาใจช่วยครูบัวให้กลับมาจำอะไรๆได้เหมือนเดิมนะครับ
ปลาทองว่ายวน แต่ก็มีความสุขที่ได้ว่ายวน^^ ผมว่าปลาทองและคนเลี้ยงปลาทองเข้ากันดีครับ 55+
ข้อความโดย: ดอกโศก
« เมื่อ: กันยายน 16, 2010, 07:31:31 pm »

เมื่อวานเปิดทีวีช่องไหนจำไม่ได้ ได้ยินท่อนหนึ่งของเพลงประกอบละครเรื่องอะไรก็จำไม่ได้อีก
ครูบัวจำอะไรไม่ได้แล้วจริงๆหรือครับ.. 
เอาใจช่วยครูบัวให้กลับมาจำอะไรๆได้เหมือนเดิมนะครับ  :06:


จำไม่ได้จริงๆค่ะ พูดอะไรกับใครไว้ก็จำไม่ได้เหมือนกัน
ช่วงนี้เป็นยิ่งกว่าปลาทอง  :06:
ข้อความโดย: Pure+
« เมื่อ: กันยายน 16, 2010, 06:59:22 pm »

เมื่อวานเปิดทีวีช่องไหนจำไม่ได้ ได้ยินท่อนหนึ่งของเพลงประกอบละครเรื่องอะไรก็จำไม่ได้อีก
ครูบัวจำอะไรไม่ได้แล้วจริงๆหรือครับ.. 
เอาใจช่วยครูบัวให้กลับมาจำอะไรๆได้เหมือนเดิมนะครับ  :06:
ข้อความโดย: ดอกไม้ในที่ลับตา ~ ღ
« เมื่อ: กันยายน 16, 2010, 04:11:09 pm »

 


 สิ่งที่ล่วงไปแล้ว ไม่ควรไปทำความผูกพัน เพราะเป็นสิ่งของที่ล่วงไปแล้วอย่างแท้จริงแม้จะ
 ทำความผูกพัน และมั่นใจในสิ่งนั้น กลับมาเป็นปัจจุบันก็เป็นไปมิได้ ผู้ทำความสำคัญมั่นหมาย
 นั้นเป็นทุกข์แต่ผู้เดียว โดยความไม่สมหวังตลอดไป
 
   อนาคต ที่ยังไม่มาถึง ก็เป็นสิ่งไม่ควรยึดเหนี่ยวเกี่ยวข้องเช่นกัน
   อดีต ควรปล่อยไว้ตามอดีต อนาคตก็ควรปล่อยไว้ตามกาลของมัน
ปัจจุบัน เท่านั้นที่จะสำเร็จเป็นประโยชน์ได้ เพราะอยู่ในฐานะที่ควรทำได้ ไม่สุดวิสัย

ที่มา ธรรมะไทย.เน็ต


 
  :13:   ขอขอบคุณ & อนุโมทนา :19:  มากมายนะคะ น้องแป้ง  :43:  ..
 
   
ข้อความโดย: ดอกไม้ในที่ลับตา ~ ღ
« เมื่อ: กันยายน 16, 2010, 03:05:31 pm »

ชอบจังค่ะ

ขอบคุณน้องแป้งนะคะที่นำมาปันให้อ่าน

เมื่อวานเปิดทีวีช่องไหนจำไม่ได้ ได้ยินท่อนหนึ่งของเพลงประกอบละครเรื่องอะไรก็จำไม่ได้อีก
แต่ชอบท่อนที่ได้ยินว่า "ฉันมีเพียงแต่วันพรุ่งนี้ ไม่ได้มีเมื่อวานนี้ให้ใคร"  แอบนึกชมคนแต่งในใจว่าเข้าใจสรรคำมาใช้

เอามาแปลงให้เข้ากับคำสอนที่น้องแป้งโพสมาก็ต้องว่า "ฉันมีเพียงวันนี้ ไม่ได้มีพรุ่งนี้หรือเมื่อวานไว้ให้ใคร"

 :12:


 เพลงที่ ครูบัวว่า หมายถึงเพลงนี้ ใช่ปะคะ เพลงนี้เป็น Ost.ประกอบละคร "ระบำดวงดาว" ค่ะ ..
 
       
[youtube]http://www.youtube.com/watch?v=RofmuS_AeBU&feature=related[/youtube]
   

เอามาฝากให้ฟังเล่นๆ ตอนทำงานนะคะ .. แหะแหะ ^^ .. :06:


ข้อความโดย: ดอกโศก
« เมื่อ: กันยายน 16, 2010, 01:55:56 pm »

ชอบจังค่ะ

ขอบคุณน้องแป้งนะคะที่นำมาปันให้อ่าน

เมื่อวานเปิดทีวีช่องไหนจำไม่ได้ ได้ยินท่อนหนึ่งของเพลงประกอบละครเรื่องอะไรก็จำไม่ได้อีก
แต่ชอบท่อนที่ได้ยินว่า "ฉันมีเพียงแต่วันพรุ่งนี้ ไม่ได้มีเมื่อวานนี้ให้ใคร"  แอบนึกชมคนแต่งในใจว่าเข้าใจสรรคำมาใช้

เอามาแปลงให้เข้ากับคำสอนที่น้องแป้งโพสมาก็ต้องว่า "ฉันมีเพียงวันนี้ ไม่ได้มีพรุ่งนี้หรือเมื่อวานไว้ให้ใคร"

 :12:
ข้อความโดย: sasita
« เมื่อ: กันยายน 16, 2010, 09:14:23 am »

 


 สิ่งที่ล่วงไปแล้ว ไม่ควรไปทำความผูกพัน เพราะเป็นสิ่งของที่ล่วงไปแล้วอย่างแท้จริงแม้จะ
 ทำความผูกพัน และมั่นใจในสิ่งนั้น กลับมาเป็นปัจจุบันก็เป็นไปมิได้ ผู้ทำความสำคัญมั่นหมาย
 นั้นเป็นทุกข์แต่ผู้เดียว โดยความไม่สมหวังตลอดไป
 
   อนาคต ที่ยังไม่มาถึง ก็เป็นสิ่งไม่ควรยึดเหนี่ยวเกี่ยวข้องเช่นกัน
   อดีต ควรปล่อยไว้ตามอดีต อนาคตก็ควรปล่อยไว้ตามกาลของมัน
   ปัจจุบัน เท่านั้นที่จะสำเร็จเป็นประโยชน์ได้ เพราะอยู่ในฐานะที่ควรทำได้ ไม่สุดวิสัย

ที่มา ธรรมะไทย.เน็ต