ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: rain....
« เมื่อ: กันยายน 12, 2011, 08:46:48 pm »

 
จิตที่ติดสุข

เหตุ แห่งการเกิดของมนุษย์เรานั้นประกอบไปด้วยกรรมดีที่เร ียกว่า “ บุญ” และกรรมชั่วที่เรียกว่า “บาป” กรรมทั้งสองประเภทนี้ล้วนส่งผลที่ได้รับแตกต่างกัน โดยกรรมดีหรือบุญจะส่งผลในด้านบวกต่อจิตใจ คือ ความสุข ความสบาย ความร่ำรวย ความพึงพอใจ ส่วนกรรมชั่ว หรือบาปย่อมส่งผลในทางกลับกัน คือ ความทุกข์ ความไม่สบายใจ ความยากจน ความลำบากขัดสน แต่สุดท้ายแล้วกรรมทั้งสองประเภทนี้ก็สามารถเป็นเหตุ ปัจจัยในการเกิดได้ เท่าๆกัน

มีผู้ปฏิบัติเคยตังคำถามกับผมว่า “ หากมั่นใจในชาตินี้เขาไม่ได้กระทำกรรมชั่วเพิ่มเติมแ ละหมั่นทำบุญสร้างกุศล ไม่ได้ขาด เพื่อที่ชาติหน้าเขาจะได้เกิดมาเสวยสุข ความเข้าใจเช่นนี้เป็นสิ่งที่ถูกต้องแล้วหรือไม่”

ความ เข้าใจข้อนี้ถูกต้องในแง่ที่ว่าการปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ ย่อมต้องได้รับอานิสงส์ผลบุญจากการกระทำนั้นๆ โดยในเบื้องต้นจะเห็นได้จากความรู้สึกสบายใจที่บังเก ิดขึ้นทุกครั้งเมื่อเรา ได้ทำบุญ ทำความดี หรือ ประกอบกรรมดีใดๆ แต่ถึงกระนั้นทั้งกรรมดีและกรรมชั่วต่างก็สลับสับเปล ี่ยนกันเข้ามาส่งผลต่อ ชีวิตของเราอยู่ดี ทำให้เราได้รับทั้งความสุขและทุกข์สลับกันไป เพราะสุขกับทุกข์นั้นเป็นของคู่กัน เหมือนกับเหรียญที่มีสองด้าน มีขาว – มีดำ มีกลางวันก็ต้องมีกลางคืน เราจึงไม่สามารถที่จะเลือกเอาแต่เฉพาะสื่งใดสิ่งหนึ่ งเพียงอย่างเดียวได้ ดั่งที่ใจต้องการ

คง ไม่มีใครกล้าปฏิเสธความจริงที่ว่า ไม่ว่าเราจะเกิดมาร่ำรวย มีความสุข มีความสบายกว่าคนทั่วๆ ไปอย่างไร สุดท้ายก็ไม่มีใครสามารถหลีกหนีจากความทุกข์ไปได้ บ้างก็ต้องทุกข์ใจเพราะลูก เพราะทรัพย์สมบัติ เพราะสังขาร (โรคภัย) หรือไม่ก็เรื่องความรัก เรื่องคู่ครอง เป็นต้น

ดังนั้นถึงแม้ว่าผู้ปฏิบัติที่เพียรสร้างกรรมดีจะมีค วามมั่นใจว่าตนไม่มีกรรมชั่วหลงเหลืออยู่อย่างแน่นอน แต่หาก ยังมีความยึดติดในความสุขบังเกิดขึ้นภายในจิต กรรมดีอันเป็นเหตุแห่งการเกิดนั้นก็ยังสามารถทำให้พบ กับความทุกข์ได้เช่นกัน นั่นคือทุกข์ที่เกิดกับสังขาร ด้วย เพราะเมื่อเริ่มต้นจาก การเกิดแล้วก็ต้องมีการแก่ ตามมาด้วยการเจ็บ และจบลงที่การตาย อันเป็นความทุกข์ตามธรรมชาติซึ่งผู้ที่เกิดมาเป็นมนุ ษย์ทุกคนจะต้องได้รับ อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

นอกจาก นั้นก็ยังมีทุกข์ทางใจอันได้แก่การพลัดพรากจากสิ่งขอ งหรือบุคคลที่ตนรัก และการที่ต้องจากสมมติโลกที่ตนคิดว่าเป็นเจ้าข้าวเจ้ าของไป สิ่งเหล่านี้ล้วนแต่เป็นความทุกข์อันสืบเนื่องมาจากก ารเกิดทั้งสิ้น

ถึงตรงนี้ผู้ ปฏิบัติคงพอเข้าใจกันมากขึ้นแล้วว่าหากยังคงต้องเกิด ไม่ว่าอย่างไรเราก็ต้อง ได้พบกับความทุกข์เป็นแน่ เพราะการเกิดนั้นมันเป็นทุกข์ ทุกข์จากสิ่งที่ไม่จีรัง มีความเปลี่ยนแปลง และไม่อาจคงทนต่อการเปลี่ยนแปลง

แต่ ทั้งนี้ก็ต้องยอมรับว่าโดยพื้นฐานตามธรรมชาติของนิสั ยมนุษย์ หากจะเปรียบเทียบระหว่างความตั้งใจที่จะละเว้นจากการ สร้างกรรมเลวกับการทำ บุญหรือการทำความดีแล้วไม่ยึดติดในผลบุญที่ได้กระทำลงไปประการหลังคงจะเป็นเ รื่องที่ทำใจได้ยากกว่ามากมายนัก

คน ปกติทั่วไปเมื่อทำบุญก็ย่อมต้องมุ่งหวังในอานิสงส์ผล บุญนั้นเป็นธรรมดา เพราะเราทุกคนต่างก็ถูกปลูกฝังความเชื่อนี้สืบทอดต่อ ๆกันมา ตั้งแต่เราเริ่มจำความได้ และเราก็มีพัฒนาการกันอย่างรวดเร็วในการเรียนรู้ที่จ ะอธิษฐานขอสิ่งต่างๆ ตามที่ใจเราปราถนา เริ่มจากเรื่องการเรียน การงาน ความรัก ความร่ำรวย โชคลาภ สุขภาพ และอีกมากมาย ซึ่งเมื่อความเชื่อดังกล่าวนี้ได้ถูกหล่อหลอมเข้าไปใ นจิตใต้สำนึกของเรา จึงส่งผลทำให้จิตของเรารู้สึกพึงพอใจในความสุขที่บัง เกิดจากการที่บังเกิด จากการทำบุญ กลายเป็นจิตติดสุข และในที่สุดก็กลายเป็นเรื่องยากที่จะปล่อยวางไม่ให้จ ิตไปยึดติดในบุญที่เรา ได้กระทำ

ผู้ ปฏิบัติจึงต้องใช้ปัญญาในการพิจารณาให้เกิดภูมิความร ู้แจ้งว่าแท้ที่จริง แล้วการเกิดนั้นสำคัญกว่ากรรมที่เราจะได้รับจากการเก ิดมากมายนัก ในการเกิดแต่ละครั้งมีความเสี่ยงสูงมากที่จิตจะต้องม าแปดเปื้อน เพราะกิเลสเสี่ยงต่อการหลง อยู่กับมายาความคิดและความยึดมั่นถือมั่น ซึ่งจะเป็นเหตุที่นำพาให้ดวงจิตที่หลงนั้นห่างไกลออก ไปจากพระนิพพานมากขึ้น ทุกทีๆ

การ เกิดจึงเป็นเหตุแห่งความทุกข์ทั้งปวง ถ้าหยุดการเกิดได้เมื่อไรความทุกข์ทั้งปวงก็จะหมดลงต ามไปด้วย รู้เช่นนี้แล้วผู้ปฏิบัติจึงต้องรีบเร่งทำความเพียรแ ละอย่ายึดติดในความสุข จะได้ไม่ต้องเสียเวลาไปอีกชาติหนึ่ง จิตที่สามารถปล่อยวางได้จากกิเลสมายาทั้งปวงบนโลกสมม ติใบนี้จึงเป็นจิตที่ สามารถเข้าถึงพระนิพพานได้อย่างแท้จริง

 :07: :07: :07: :07:http://www.junjaowka.com/webboard/showthread.php?p=420048