ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: กันยายน 13, 2011, 10:31:08 am »




อนุโมทนาสาธุค่ะ น้องเรน....




ข้อความโดย: rain....
« เมื่อ: กันยายน 12, 2011, 08:48:31 pm »


ก า ร เ กิ ด ดั บ ที่ สั ม ผั ส ไ ด้
พระพุทธยานันทภิกขุ (หลวงพ่อดิเรก พุทธยานันโท)
วัดป่าพุทธยานันทาราม : ลาสเวกัส สหรัฐอเมริกา

ดังที่ได้กล่าวมาแต่แรกแล้วว่า ความคิดมี ๒ กระแส

คือ กระแสเกิดกับกระแสดับ “กระแสเกิด” เรียกว่า “กระแสสมุทัยจิต”
คือความคิดที่ขาดสัมมาปัญญาเข้าไปรู้ทัน
มันก็พัฒนาตัวเป็นความอยาก เรียกว่า “สมุทัยสัจจ์”

ส่วนความคิดที่มีสัมมสติ เข้าไปรู้ เรียกว่า “นิโรธสัจจ์”
คือ เป็นความความคิดที่มีสติแล้วกำหนดรู้
จะเปลี่ยนเป็นสัมมาปัญญาทันที

ปัญญาตัวนี้มันจะช่วยจิตให้คิดเฉพาะเรื่อง
และคิดแต่สิ่งที่จำเป็นเท่านั้น

เช่น นั่งตรงนี้ รู้สึกปวดหนักปวดเบา
มันก็จะคิดว่าห้องน้ำมันอยู่ตรงไหน
กำหนดรู้แล้วลุกไปอย่างรู้ตัว
แล้วก็จบ มันก็ไม่ได้คิดอะไรต่อ
เพียงแต่ประคองสัมปชัญญะให้รู้ตัวทั่วพร้อม
ขณะที่เดินไปหาเป้าหมายเท่านั้น

ฉะนั้นความคิดที่เป็นกระแสดับ
จึงเป็นความคิดที่ประกอบด้วยสัมมาปัญญา
เป็นความคิดที่สอดคล้องกับความเป็นจริง
ทำแล้วจบมันไม่ได้มีอะไรมากกว่านั้น หมดหน้าที่แค่นั้น
นี้เรียกว่าความคิดที่เป็นกระแสดับ คือดับ “สังขารจิต”
ปัญญาญาณจะเข้าไปแทนที่ความคิด

ผู้ปฏิบัติต้องฝึกฝนอาการรู้ชนิดนี้ให้ชำนิชำนาญจนเป ็นวสี
จิตก็จะสัมผัสปรมัตถ์ถี่ขึ้นเรื่อยๆ จนเกิด “มัคคสมังคี”
คือการรวมลงของกระแสรู้ และประจักษ์แจ้งการเกิดดับของจิตในที่สุด
ตรงนี้ผู้ปฏิบัติต้องไปทำให้ถูก จำไปคิดคำนวณเอาไม่ได้เด็ดขาด

จิตที่สัมผัสการเกิดดับความความเป็นจริงแล้ว
จะทำหน้าที่ที่คอยตอบสนองต่อความต้องการที่เป็นจริงท ี่เกิดขึ้นในเวลานั้นๆ

เราเรียกความรู้ชนิดนี้ว่า “ปัญญาญาณ” หรือ “วิปัสสนาญาณ”
หรือจะเรียกว่า “ยถาภูตญาณ” ก็ได้
เป็นความรู้ที่เกิดจากการเจริญสติปัฏฐานสี่ที่ถูกต้อ งเท่านั้น
__________________
 :07: :07: :07: :07:http://www.junjaowka.com/webboard/showthread.php?p=420047