ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: กันยายน 23, 2011, 05:10:06 pm »




:13: :19: :45:



ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: กันยายน 29, 2010, 10:00:01 pm »

 :13: อนุโมทนาครับพี่แทน ^^
ข้อความโดย: แปดคิว
« เมื่อ: กันยายน 29, 2010, 09:21:32 pm »

อย่าดื้อนะน้อง :06:




ความสามัคคี ย่อมเกิดจาก

(๑) ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กัน

(๒) พูดจาอ่อนน้อมอ่อนหวานต่อกัน

(๓) ช่วยเหลือกันในยามยาก

(๔) วางตนเสมอกันในความเป็นอยู่

(๕) ไม่ใช้ความรุนแรงต่อกัน

(๖) ไม่ถือความขัดแย้งกันทางความคิด เป็นเรื่องสำคัญ

(๗) ไม่เอาแพ้เอาชนะกัน ซึ่งเป็นเรื่องสำคัญที่สุด
เพราะชนะเขาก็ต้องได้รับการจองเวร แพ้เขาก็ช้ำใจ
ไม่แพ้ไม่ชนะใคร สงบ สบาย ไม่วุ่นวายประการใด
ความชนะที่มีคุณค่า คือ ความชนะใจของตัวเองเป็นคุณค่ามหาศาล

การที่คนเรา มีความคิดเห็นไม่ตรงกันหรือขัดแย้งกัน เป็นเรื่องธรรมดา
เพราะคนเราย่อมมีความคิดเห็นต่างกันได้
ตามสภาพของจิตใจของใครของมัน
ถ้ามีความปรารถนาดีต่อการงานของหมู่คณะ
มีความรักหมู่คณะ ก็สามารถทำงานด้วยกันได้ ไม่มีปัญหา
เหมือนชอบรสอาหารไม่เหมือนกัน เป็นเรื่องธรรมดา
มีความรักกันก็สามารถรับประทานร่วมกันได้ด้วยดี
เพลิดเพลินสนุกสนาน โปรดเข้าใจว่า คนที่มีความคิดเห็นไม่เหมือนเรา
ไม่ใช่คนเลวทรามเสียหาย เป็นคนดีเหมือนเรานั่นเอง
การทำให้คนที่มีความคิดเห็นไม่ตรงกัน ทำงานด้วยกันได้
มีความสามัคคีปรองดองกัน เป็นความสามารถของการปกครอง
และการบังคับบัญชาบุคคลของนักบริหาร

เครื่องวัดความคิดเห็นว่าจะตรงจุดหมายหรือไม่นั้น ได้แก่

(๑) ระเบียบแบบแผน

(๒) ขนบธรรมเนียมประเพณี

(๓) เหตุผล

(๔) ข้อเท็จจริง

(๕) กฎธรรมดา

(๖) ความยอมรับของมหาชน

ความสงบชั้นสุดยอด หมายถึง ความสงบของจิตใจจากการเจริญกรรมฐาน
คือ ใจอยู่ในปรกติภาพตลอดเวลา และอิสรภาพตามธรรมชาติของมัน
เวลามีอารมณ์มากระทบก็ไม่หวั่นไหว ไม่กระเทือนประการใด
ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข มาถึงก็ไม่ดีใจ
ความเสื่อมลาภ เสื่อมยศ นินทา ทุกข์ มาถึงก็ไม่เสียใจ
มีอุเบกขา คือ ความวางเฉย หรือความรู้สึกเฉย ๆ
เหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้นมาถึง เมื่อไม่มีอารมณ์เป็นอย่างไร
มีอารมณ์มาถึง ก็เป็นอย่างนั้น เป็นเครื่องบังคับ คือ สติสัมปชัญญะ

ท่านสาธุชนทั้งหลาย การเจริญกรรมฐานจึงมีประโยชน์ในชีวิตของเรา
ทำให้อายุยืนยาวต่อไปได้ และสามารถใช้ชีวิตต่อการงานและหน้าที่ที่ถูกต้อง
ไม่เอาถูกใจเหมือนแต่ก่อนมา และสภาพความเป็นอยู่ในชีวิตนี้ของท่าน
จะเจริญรุ่งเรืองวัฒนาสถาพรต่อไปได้อย่างสมปรารถนาทุกประการ
http://www.dhammathai.org/store/talk/view.php?No=140
 
 
 http://www.watkoh.com/forum/index.php?topic=1106.0