ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: ตุลาคม 31, 2011, 12:16:50 am »

ที่มา
http://www.baanjomyut.com/pratripidok/praapitampidok/201.html

สืบค้นแบบละเอียดที่
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka3/apidham02.php

อนุโมทนาครับน้องต๊ะ :13:
ข้อความโดย: ต๊ะติ้งโหน่ง
« เมื่อ: ตุลาคม 30, 2011, 08:26:21 am »

เล่มที่ ๓๕ ชื่อวิภังค์ ( เป็นอภิธัมมปิฎก )

   พระไตรปิฎกเล่มนี้ ว่าด้วยการแจก ( วิภังค์ ) คือแยกจากกลุ่มธรรมะต่าง ๆ ให้เห็นรายละเอียด เช่น คำว่า ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ จำแนกรายละเอียดออกไปอย่างไรบ้าง.

   การแยกกลุ่มหรืออธิบายแจกรายละเอียดของธรรมะต่าง ๆ ออกไปในเล่มที่ ๓๕ นี้ มี ๑๘ หมวด คือ

    ๑. ขันธวิภังค์ แจกขันธ์ ๕

    ๒. อายตนวิภังค์ แจกอายตนะ ๑๒

    ๓. ธาตุวิภังค์ แจกธาตุ ๖ และธาตุ ๑๘

    ๔. สัจจวิภังค์ แจกอริยสัจจ์ ๔

    ๕. อินทริยวิภังค์ แจกอินทรีย์ ๒๒

    ๖. ปัจจยาการวิภังค์ แจกปัจจยาการ ๑๒ ที่เรียกว่าปฏิจจสมุปบาท

    ๗. สติปัฏฐานวิภังค์ แจกสติปัฏฐาน ๔

    ๘. สัมมัปปธานวิภังค์ แจกสัมมัปปธาน ( เพียรชอบ ) ๔

    ๙. อิทธิปาทวิภังค์ แจกอืทธิบาท ๔

    ๑๐. โพชฌังควิภังค์ แจกโพชฌงค์ ๗

    ๑๑. มัคควิภังค์ แจกมรรคมีองค์ ๘

    ๑๒. ฌานวิภังค์ แจกฌาน ( การเพ่งอารมณ์ ) ทั้งรูปฌานและอรูปฌาน

    ๑๓. อัปปมัญญาวิภังค์ แจกอัปปมัญญา ๔ ( พรหมวิหาร ๔ ที่แผ่ไปโดยไม่ กำหนดประมาณ )

    ๑๔. สิกขาปทวิภังค์ แจกสิกขาบท ๕ คือศีล ๕

    ๑๕. ปฏิสัมภิทาวิภังค์ แจกปฏิสัมภิทา ( ความแตกฉาน ) ๔

    ๑๖. ญาณวิภังค์ แจกญาณ ( ความรู้ ) ตั้งแต่หมวด ๑ ถึงหมวด ๑๐

    ๑๗. ขุททกวัตถุวิภังค์ แจกเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ ตั้งแต่หมวดที่ ๑ ถึงหมวดที่ ๑๘ และทิฏฐิ ๖๒

    ๑๘. ธัมมหทยวิภังค์ แจกหัวใจหรือหัวข้อธรรม

   ในการแจกธรรมะทั้งสิบแปดหัวข้อเหล่านี้ โดยมากได้ตั้งเป็น ๓ ภาค คือเป็นหัวข้อฝ่ายพระสูตร ( สุตตันต- ภาชนียะ ), หัวข้อฝ่ายพระอภิธรรม ( อภิธัมมภาชนียะ ) และหมวดถามตอบปัญหา ( ปัญหาปุจฉกะ ) เป็นการแยกอธิบายให้เห็น ว่า ศัพท์ธรรมะนั้น ๆอธิบายตามแนวพระสูตรอย่างไร ตามแนวพระอภิธรรมอย่างไร มีพิเศษออกไป คือข้อ ๕ และข้อ ๑๔ ไม่มี หัวข้อฝ่ายพระสูตร และข้อ ๑๖, ๑๗, และ ๑๘ ไม่ตั้งเป็นหัวข้อฝ่ายพระสูตร ฝ่ายพระอภิธรรม หากตั้งตามหมวดที่ ๑ ที่ ๒ เป็นต้น.