ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: พฤศจิกายน 01, 2011, 11:59:35 pm »

อนุโมทนาครับ :13:
ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: พฤศจิกายน 01, 2011, 01:32:05 am »



ผมได้ดูวิดีโอเทปม้วนนี้ทั้งหมดแล้ว ยาว 2 ชั่วโมง โดยชั่วโมงแรกเป็นเรื่องการป้องกันน้ำท่วมกรุงเทพฯ ชั่วโมงที่สองเป็นเรื่องโครงการอื่นในภาคใต้และภาคตะวันออก เช่นโครงการพัฒนาลุ่มปากพนัง โครงการเขื่อนป่าสัก เขื่อนแก่งเสือเต้น ฯลฯ

ผมดูแล้วสรุปได้ว่าแนวทางที่ท่านนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร จะตัดสินใจทำ
เช่นตัด-ระเบิด-หรือขุดถนนบางสาย ทางรถไฟบางช่วง เพื่อให้นำ้ไหลลอดไปได้โดยเร็ว ทำนองเดียวกันกับที่ พลเอกวิชา ศิริธรรม เคยขอให้รัฐบาลเจาะใต้ทางรถไฟเพื่อให้น้ำไหลออกจากนวนคร (แต่รัฐบาลไม่เห็นด้วย)

หากท่านนายกฯยิ่งลักษณ์จะตัดสินใจให้ตัด-ขุด-ระเบิด ถนนหรือทางรถไฟบางสายเพื่อให้น้ำไหลผ่านลงคลองออกสู่ทะเล ก็ดูจะสอดคล้องกับแนวพระราชดำริของพระเจ้าอยู่หัวในปี 2538  ผมขอสนับสนุนการตัดสินใจของท่านนายกฯยิ่งลักษณ์และรัฐบาลในเรื่องนี้ และขอให้ท่านนายกรัฐมนตรีได้สอบถามข้าราชที่ผมได้เอ่ยชื่อมาข้างต้นแล้วว่าได้เข้าเฝ้าร่วมประชุมเบื้องพระยุคลบาทองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในวันที่ 19 กันยายน 2538 วันนั้นด้วย จะได้เข้าใจในรายละเอียดและจะได้สามารถอธิบายต่อประชาชนได้อย่างเข้าใจง่าย ดังที่พระเจ้าอยู่หัวทรงอธิบายต่อเหล่าข้าราชการกรมชลประทานและกรุงเทพมหานคร ในวันที่ 19 กันยายน2554

           

หากรัฐบาลต้องการดูเทปการประชุมม้วนนี้ก็อาจถามหาไปยังสถานีโทรทัศน์ต่างๆก็ได้
หรือจะมาเอาจากผมที่บ้านวันนี้ก็ได้ ผมได้ย้ายสัญญานมาลงบนแผ่น DVD แล้ว
เทประบบVHS ม้วนนี้เป็นของส่วนตัวที่ผมเก็บไว้ตั้งแต่ปี 2538 ดูจบแล้วเมื่อสักครู่ แล้วเกิดความเข้าใจดีมากตามที่พระเจ้าอยู่หัวทรงอธิบาย


 ผมกำลัง upload ขึ้น Youtube แต่ด้วยความยาวถึงสองชั่วโมง กว่าจะเสร็จคงจะราวเย็นวันนี้ แม้จะตัดเอามาเพียงครึ่งเดียวก็ยังยาว 60 นาที กระบวนการ upload ขึ้น Youtube จะใช้เวลานานอาจถึงสองชั่วโมง

by สมเกียรติ อ่อนวิมล | Somkiat Onwimon on Friday, October 28, 2011 at 3:26pm
http://www.facebook.com/note.php?note_id=241008409291222
อนุโมทนาสาธุค่ะ
ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: พฤศจิกายน 01, 2011, 01:18:02 am »



  วันที่ 18 กันยายน 2538 ฝนตกหนักในกรุงเทพฯ พายุดีเปรสชั่น Ryan ทำให้ฝนตกมากเหนือประเทศไทยและกรุงเทพฯ น้ำเหนือไหลบ่าลงมาจะเข้าท่วมกรุงเทพฯ การระบายน้ำออกจากเขื่อนสิริกิติ์ทำมากกว่าเขื่อนภูมิพล สร้างปัญหาน้ำจะเข้าท่วมกรุงเทพฯปี 2538

ทันทีในวันรุ่งขึ้น วันที่ 19 กันยายน 2538 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเรียกประชุมข้าราชการที่เกี่ยวข้องเป็นการด่วน ทรงอธิบายต่อที่ประชุมฉุกเฉินข้าราชการกรมชลประทาน (อธิบดี และ รองอธิบดี -ปราโมทย์ ไม้กลัด, สวัสดิ์ วัฒนายากร, รุ่งเรือง จุลชาต),  ผู้ว่าฯกทม. (กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา), ปลัด กทม. (ประเสริฐ สมะลาภา) และองคมนตรี ที่มีความชำนาญเรื่องน้ำและวิศวกรรม รวมทั้งข้าราชการผู้ชำนาญเรื่องน้ำอีกหลายท่าน ทุกคนนั่งร่วมโต๊ะประชุมแบบล้อมวงรีร่วมกับพระเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงรับสั่งให้เร่งแก้ปัญหาพร้อมทั้งอธิบายรายละเอียดทางวิชาการ วิธีการทำงานป้องกันน้ำท่วมกรุงเทพฯ ให้น้ำไหลจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำตามธรรมชาติของน้ำ

พระองค์ทรงวิจารณ์พร้อมข้อมูลสนับสนุนว่า เมื่อเกิดพายุดีเปรสชั่น Ryan ฝนตกมาก น้ำเหนือเขื่อนใหญ่ต้องระบายออก แต่ก็ทรงให้พระราชวินิจฉัยว่าปล่อยน้ำออกจาก"เขื่อนพระราชินี" (เขื่อนสิริกิติ์) มากเกินไป แต่ทำไมจึงระบายน้ำจาก"เขื่อนพระราชา" (เขื่อนภูมิพล) ออกมาน้อยมาก ที่ถูกควรเร่งระบายน้ำจาก"เขื่อนพระราชา" ให้มากกว่า"เขื่อนพระราชินี" ในเรื่องเขื่อนนั้นโครงการเขื่อนป่าสัก และเขื่อนแก่งเสือเต้นมีความสำคัญ และควรจะได้ทำความเข้าใจกับประชาชนที่คัดค้านโครงการแก่งเสือเต้นให้ดี

การจัดการปัญหาเรื่องความขัดแย้งระหว่างชาวบ้านที่จะทะเลาะทำลายคันกั้นน้ำของกันและกันก็เป็นปัญหาที่พระเจ้าอยู่หัวทรงเตือนไว้ด้วยความห่วงพระทัย และย้ำให้รัฐบาลดูแลประชาชนให้ดีก่อนจะเกิดน้ำท่วม ลงทุนป้องกันมิให้เกิดน้ำท่วม จะดีกว่าประหยัดกว่าการฟื้นฟูซ่อมแซมและช่วยประชาชนเมื่อเสียหายหมดแล้วหลังน้ำท่วม

ทรงแนะให้ขุดตัดถนนที่ขวางทางน้ำ  ขุดใต้ทางรถไฟ หาทางให้น้ำไหลลอดออกลงคลองระบายน้ำ เพื่อให้ลงทะเลไปโดยเร็ว ทรงรับสั่งทำให้เสร็จในสามวัน ส่วนโครงการใหญ่ระยาวก็ทรงให้เตรียมการขุดขยายคูคลองระบบประตูระบายน้ำและเครื่องสูบน้ำต่างๆ การทำความเข้าใจกับประชาชนที่อาจต้องเสียสละ และอาจต้องโยกย้ายออกจากที่สาธารณะริมคลองต่างๆ หากประชาชนที่รุกที่ริมคลองไม่ร่วมมือก็อาจจำต้องบังคับใช้กฎหมายโดยดูแลประชาชนให้ดีด้วย
ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: พฤศจิกายน 01, 2011, 01:11:13 am »


http://www.youtube.com/watch?v=wnBFkXUeblo&feature=player_embedded#
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงรับสั่งเรื่อง
การป้องกันน้ำท่วมกรุงเทพฯ 2538
ออกอากาศทางโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย
เวลา 20:40-22:45 วันที่ 19 กันยายน พ.ศ.2538
----------------------------------------------------
ชั่วโมงที่ 1 เรื่องป้องกันน้ำท่วมกรุงเทพฯ
---------------------------------------------------
วันที่ 18 กันยายน 2538 ฝนตกหนักในกรุงเทพฯ พายุดีเปรสชั่น Ryan ทำให้ฝนตกมากเหนือประเทศไทยและกรุงเทพฯ น้ำเหนือไหลบ่าลงมาจะเข้าท่วมกรุงเทพฯ การระบายน้ำออกจากเขื่อนสิริกิติ์ทำมากกว่าเขื่อนภูมิพล สร้างปัญหาน้ำจะเข้าท่วมกรุงเทพฯปี 2538
ทันทีในวันรุ่งขึ้น วันที่ 19 กันยายน 2538 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเรียกประชุมข้าราชการที่เกี่ยวข้องเป็นการด่วน ทรงอธิบายต่อที่ประชุมฉุกเฉินข้าราชการกรมชลประทาน (อธิบดี และ รองอธิบดี -ปราโมทย์ ไม้กลัด, สวัสดิ์ วัฒนายากร, รุ่งเรือง จุลชาต), ผู้ว่าฯกทม. (กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา), ปลัด กทม. (ประเสริฐ สมะลาภา) และองคมนตรี ที่มีความชำนาญเรื่องน้ำและวิศวกรรม

รวมทั้งข้าราชการผู้ชำนาญเรื่องน้ำอีกหลายท่าน ทุกคนนั่งร่วมโต๊ะประชุมแบบล้อมวงรีร่วมกับพระเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงรับสั่งให้เร่งแก้ปัญหาพร้อมทั้งอธิบายรายละเอียดทางวิชาการ วิธีการทำงานป้องกันน้ำท่วมกรุงเทพฯ ให้นำ้ไหลจากที่สูงลงสู่ที่ตำ่ตามธรรมชาติของน้ำ ทรงให้ขุดตัดถนนที่ขวางทางน้ำ ขุดใต้ทางรถไฟ หาทางให้น้ำไหลลอดออกลงคลองระบายน้ำ เพื่อให้ลงทะเลไปโดยเร็ว ทรงรับสั่งทำให้เสร็จในสามวัน ส่วนโครงการใหญ่ระยาวก็ทรงให้เตรียมการขุดขยายคูคลองระบบประตูระบายน้ำและสูบน้ำต่าง­ๆ การทำความเข้าใจกับประชาชนที่อาจต้องเสียสละและอาจต้องโยกย้ายออกจากที่สาธารณะริมคล­องต่างๆ ทรงประสงค์จะให้เร่งทำความเข้าใจกับประชนชนถึงความสำคัญของโครงการเขื่อนแก่งเสือเต้­นของกรมชลประทาน และโครงการอ่างเก็บน้ำในลุ่มน้ำต่างๆในภาคเหนือ ฯลฯ

[ส่วนชั่วโมงที่สอง-ซึ่งได้ตัดแยกออกไป-เป็นเรื่องโครงการพัฒนาอื่นๆ เช่น โครงการพัฒนาลุ่มน้ำปากพนัง นากุ้ง นาข้าว โครงการเขื่อนป่าสัก เขื่อนแก่งเสือเต้น ฯลฯ]

ขอบคุณ น้องโมเมค่ะ
อนุโมทนาสาธุที่มาทั้งหมดมากมาย...