ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

ตัวหนา ตัวเอียง ตัวขีดเส้นใต้ ตัวมีขีดกลาง | จัดย่อหน้าอิสระ จัดย่อหน้าชิดซ้าย จัดย่อหน้ากึ่งกลาง จัดย่อหน้าชิดขวา
ใส่แฟลช ใส่รูป ใส่ไฮเปอร์ลิ้งค์ ใส่อีเมล์ ใส่ลิ้งค์ FTP | ตัวเรืองแสง ตัวมีเงา ตัวอักษรวิ่ง | ตัวยก ตัวห้อย ตัวพิมพ์ดีด | ใส่ตาราง ใส่โค้ด ใส่การอ้างถึงคำพูด | Insert Unordered List Insert Ordered List เส้นขวาง Insert Progress Bar | Remove Formatting Toggle View
Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: สายลมที่หวังดี
« เมื่อ: ธันวาคม 05, 2011, 11:03:37 pm »



ขอบคุณนะค่ะน้องฝน ขอให้สุขภาพแข็งแรงกันทุกท่านเลยนะค่ะ
ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: พฤศจิกายน 10, 2011, 10:52:07 pm »

 :13: ขอบคุณครับน้องฝน
ข้อความโดย: rain....
« เมื่อ: พฤศจิกายน 10, 2011, 01:18:51 pm »



ยา รักษาโรค เป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ที่จำเป็นสำหรับการใช้ชีวิตของมนุษย์ แต่หากมนุษย์เราสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ โดยที่ไม่ต้องพึ่งยารักษาโรคก็คงจะดีที่สุดค่ะ เพราะขึ้นชื่อว่ายา แม้จะมีคุณอนันต์แต่ก็มีโทษมหันต์เช่นกัน หากว่าทานยามากเกินไป ทานไม่ยาเหมาะสม หรือการทานยาซ้ำซ้อน ก็ล้วนแต่ก่อให้เกิดอันตรายได้เช่นกัน โดยในกรณีของการทานยาซ้ำซ้อนนี้ ปัจจุบันก็พบได้บ่อยในผู้ป่วยหลาย ๆ ราย ซึ่งก็มีทั้งที่รู้ตัวและไม่รู้ตัวด้วย แล้วท่านละคะ ทานยาซ้ำซ้อนอยู่หรือเปล่า

ปัญหาจากการได้รับยาซ้ำซ้อน มักเกิดจากการที่ผู้ป่วยไปรักษาพยาบาลหลายที่ แต่ไม่ได้ระบุกับแพทย์ในแห่งที่สองว่าทานยาอะไรอยู่แล้วบ้าง หรือไม่ได้นำยาไปให้แพทย์ดู เมื่อกลับมาก็รับประทานยาที่ทั้ง 2 แห่งให้มาร่วมกัน ซึ่งบางครั้งอาจเป็นยาตัวเดียวกันก็ได้ ทำให้ได้รับยาที่เกินความจำเป็น หรือบางคนอาจไปรักษาที่สถานพยาบาลเดิม แต่ติดต่อกันหลายครั้ง แพทย์อาจให้ยาที่แรงขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อเห็นว่ายาเดิมที่ทานอยู่ไม่สามารถช่วยให้หายจากอาการป่วยได้ โดยแพทย์อาจจ่ายยาใหม่ที่รูปลักษณ์หรือบรรจุภัณฑ์เปลี่ยนไป ระบุเวลาทานยาคนละช่วงเวลา ทำให้ผู้ป่วยคิดว่าเป็นยาคนละชนิด ก็นำมารับประทานร่วมกัน ทั้งที่จริงเป็นชนิดเดียวกัน

การ ได้รับยาซ้ำซ้อน บางครั้งยาจะมีปฏิกิริยาต่อกัน อาจเสริมฤทธิ์กันหรือทำให้ฤทธิ์ยาลดลงได้ และทำให้เกิดอันตรายได้ ซึ่งมีทั้งที่ไม่รุนแรง เช่น คลื่นไส้ กระสับกระส่าย นอนไม่หลับ ใจสั่น หรือง่วงนอน จนกระทั่งรุนแรงถึงแก่ชีวิต เช่น การทำลายตับ หรือทำให้เกิดอาการหายใจไม่ออก เป็นต้น ดังนั้น เพื่อป้องกันปัญหาการได้รับยาซ้ำซ้อน ทุกครั้งที่ไปพบแพทย์ท่านจึงควร…


1. คุยกับแพทย์ เภสัชกร หรือผู้เชี่ยวชาญ โดยท่านควรบอกรายละเอียดเกี่ยวกับตัวท่านเองให้มากที่สุด เช่น ท่านมีประวัติการแพ้ยาอะไรหรือไม่ รับประทานยาหรืออาหารเสริมอื่นๆอยู่หรือไม่ ข้อจำกัดบางประการในการใช้ยา (เช่น มีปัญหาการกลืนยา หรือ ต้องทำงานกับเครื่องจักรอันตราย ไม่สามารถทานยาที่ทำให้ง่วงได้) อยู่ในระหว่างการตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร (กรณีของผู้หญิง)

2. ควรนำยาเก่ามาด้วยเสมอเวลา มารักษาตัวที่สถานพยาบาลต่าง ๆ ไม่ว่าจะมาหาด้วยโรคเดิมหรือโรคใหม่ก็ตาม เพื่อที่แพทย์จะได้ทราบว่าท่านทานยาชนิดใดอยู่ก่อนแล้วบ้าง จะได้หลีกเลี่ยงการจ่ายยาซ้ำซ้อนค่ะ หรือในกรณีที่ท่านมารักษาด้วยโรคเดิม ที่สถานพยาบาลเดิม แต่แพทย์จ่ายยาตัวใหม่ให้ ก็ต้องสอบถามให้แน่ใจว่า จะต้องทานยาทั้งสองชนิดนี้ควบคู่กันไปหรือไม่ หรือให้ทานชนิดใดชนิดหนึ่ง มีตัวยาที่ซ้ำซ้อนกันหรือไม่ และจะมีอาการข้างเคียงอย่างไรบ้าง เพื่อที่ท่านจะได้สังเกตอาการผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นหลังการทานยาได้

อย่าง ไรก็ตามการสังเกตอาการผิดปกติที่เกิดขึ้นหลังการทานยา เป็นสิ่งจำเป็นมาก โดยหากมีอาการที่นอกเหนือไปจากที่เภสัชกรหรือแพทย์ได้แจ้งไว้ หรือมีอาการรุนแรงกว่า ควรรีบไปพบแพทย์ทันที แพทย์อาจสั่งให้หยุดยาบางตัว และสังเกตอาการอีกครั้ง เพื่อที่จะได้ทราบว่าอาการที่เกิดขึ้นนั้นมาจากผลของยาตัวใด และแพทย์อาจพิจารณาการรักษาวิธีอื่นหรือจ่ายยาชนิดอื่นต่อไป ทั้งนี้เพื่อไม่ให้ผู้ป่วยเกิดอันตรายอันเนื่องมาจากการได้รับยาซ้ำซ้อนนั่น เองค่ะ