ตอบ

ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: ธันวาคม 16, 2011, 12:50:16 am »

 :13: อนุโมทนาครับพี่แป๋ม ไม่เห็นพี่แป๋มนานเลย รักษาสุขภาพนะครับ
ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: ธันวาคม 15, 2011, 11:21:02 am »



                   

พระธรรมเทศนา ๑๖๕ เรื่อง :สมเด็จพระญาณสังวร
(คำสอนเถรวาท)


    พระธรรมเทศนา สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปริณายก นี้ เกิดขึ้นด้วยความอุตสหะ วิริยะ ของคุณอณิศร โพธิทองคำเก็บรวบรวม ตั้งแต่ปี พ.ศ.2518 จำนวน กว่า200 ม้วน และถอดคำเทศนาแบบคำต่อคำ ได้เนื้อหาจำนวน 165 เรื่อง ใช้เวลา ในการดำเนินการมากกว่า 2 ปี คุณอณิศร ได้มอบแผ่นดิกส์แก่ผู้ทำเว็บไว้หลายปีแล้ว เพื่อเผยแพร่ เป็นธรรมทาน ในครั้งนี้เป็นโอกาสอันดี ที่ได้นำลงเผยแพร่แก่ศาสนิกชนทั่วไป

สารบาญ Tape File
Tape 01 พระสูตรที่ว่าด้วยสุญญตา (๑)
Tape 01 พระสูตรที่ว่าด้วยสุญญตา (๒)
Tape 02 พระสูตรที่ว่าด้วยสุญญตา (๓)
Tape 02 พระสูตรที่ว่าด้วยสุญญตา (๔)
Tape 03 พระสูตรที่ว่าด้วยสุญญตา (๕)
Tape 03 พระสูตรที่ว่าด้วยสุญญตา (๖)
Tape 04 วิธีฟังธรรม อุปัทวะอันตรายของอาจารย์
Tape 04 อุปนิสัย ๓
Tape 05 กายานุปัสสนา ๔ ชั้น
Tape 05 เวทนานุปัสสนา ๔ ชั้น
Tape 06 ประมวลหลักปฏิบัติ
Tape 06 จิตตานุปัสสนา
Tape 07 จิตที่มีศีล สติ สมาธิ ปัญญา
Tape 07 ธัมมานุปัสสนา
Tape 08 ยกจิตขึ้นสู่อารมณ์ของกรรมฐาน
Tape 08 ธรรมานุปัสสนา ๔ ชั้น
Tape 09 วิมุตติจิต
Tape 09 บารมีและอาสวะ
Tape 10 อารักขกรรมฐาน
Tape 10 การอบรมปัญญา ( ไม่จบในม้วน ๑๒/๒ และไม่ต่อในม้วน ๑๓/๑ )
Tape 11 กรรมฐาน (กัณฑ์เริ่มต้นดีเยี่ยม)
Tape 11 ข้อที่ควรปฏิบัติเป็นขั้นที่หนึ่ง (กัณฑ์ที่ต่อเนื่องมาจากกัณฑ์เริ่มต้น)
Tape 12 มรรค ๘ อินทรีย์ ๕
Tape 12 อานาปานสติ
Tape 13 จิตคด จิตตรง สติรู้ลมหายใจ ( จบไม่มี “ ต่อจากนี้ก็ขอให้ตั้งใจฟังสวด ...)
Tape 13 ว่าง
Tape 14 สัญมะ ทมะ ความสำรวมระวังจิต ความข่มฝึกจิต
Tape 14 บัณฑิตทั้งหลายย่อมฝึกตน อานาปานสติขั้นระงับกายสังขาร
Tape 15 ผู้มีตนเป็นที่พึ่ง อานาปานสติ “พุทโธ”
Tape 15 การปฏิบัติแย่งจิตจากกิเลส เกิดดับ วิปัสสนา
Tape 16 การหัดปฏิบัติเพื่อสมถะและวิปัสสนา
Tape 16 มูลกรรมฐาน
Tape 17 ธาตุกรรมฐาน
Tape 17 หลักของการปฏิบัติกรรมฐาน เวทนานุปัสสนา
Tape 18 การปฏิบัติในจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน
Tape 18 วิธีปฏิบัติในสติปัฏฐาน ๔ นิวรณ์ ๕
Tape 19 ขันธ์ ๕
Tape 19 อายตนะภายในภายนอก สัญโยชน์ เกิดดับ
Tape 20 โพชฌงค์
Tape 20 ปัญญาในโพชฌงค์ ทุกข์ สภาวะทุกข์ ปกิณกะทุกข์ ทุก
Tape 21 การสร้างธรรมจักษุให้บังเกิดขึ้นในตน
Tape 21 วิธีหัดพิจารณาให้ได้ปัญญาในทุกขสัจจะ วิญญาณ สัมผัส เวทนา
Tape 22 การปฏิบัติเพื่อให้พ้นวัฏฏทุกข์
Tape 22 ทุกข์ ๒ ชั้น
Tape 23 กิจที่พึงปฏิบัติในพุทธศาสนา
Tape 23 สรุปธรรมานุปัสสนา
Tape 24 อายตนะภายในภายนอก ขันธ์ สัญโญชน์ กิเลส
Tape 24 สติ สัมปชัญญะ องค์ฌาน
Tape 25 ทุกขทุกข์ สังขารทุกข์ วิปรินามทุกข์
Tape 25 ธรรมะที่เป็นพหุลานุสาสนี ทุกขสมุทัย เหตุให้เกิดทุกข์
Tape 26 เริ่มต้นปฏิบัติในสติปัฏฐาน ๔ สติ ศีล สมาธิ ปัญญา
Tape 26 ความว่าง
Tape 27 ปิยะรูป สาตะรูป (ไม่มีหัวข้อ)
Tape 27 สัมมาสมาธิในพุทธศาสนา (ไม่มีหัวข้อ)
Tape 28 เอกายนมรรค ทางปฏิบัติอันเดียว
Tape 28 สติ อนุสสติ ญาณ ปัญญา
Tape 29 ปัญญาที่รู้ที่เห็นในสัจจะทั้ง ๔
Tape 29 อินทรียสังวร ความสำรวมอินทรีย์
Tape 30 เบื้องต้นของกุศลธรรมทั้งหลาย หลักปฏิบัติในสติปัฏฐาน
Tape 30 เทวธาวิตักกสูตร วิธีที่พระพุทธเจ้าทรงสอนกรรมฐาน
Tape 31 เทวธาวิตักกสูตร วิธีที่พระพุทธเจ้าทรงสอนกรรมฐาน (๒)
Tape 31 วิตักกสันฐานสูตร พระพุทธเจ้าสอนกรรมฐาน
Tape 32 วิตักกสัณฐานสูตร (ต่อ)
Tape 32 สัลเลขปฏิบัติ
Tape 33 สัพพาสวสังวรสูตร ๑
Tape 33 สัพพาสวสังวรสูตร ๒
Tape 34 สัพพาสวสังวรสูตร ๓
Tape 34 สัพพาสวสังวรสูตร ๔
Tape 35 สัพพาสวสังวรสูตร ๕
Tape 35 สัพพาสวสังวรสูตร ๖
Tape 36 อนังคณสูตร ( ท่านพระสารีบุตรสอนกรรมฐาน )
Tape 36 อิติวิตกติกนิบาต ( อธิบายเรื่องเวทนา ๕ )
Tape 37 เรื่องจิตนี้
Tape 37 จิต วิญญาณ มโน
Tape 38 เจโตขีลสูตร
Tape 38 สัมมาทิฏฐิ ๑ เบื้องต้นของสัมมาปฏิบัติ ( File ๓๘-๕๙ พิมพ์แล้ว)
Tape 39 สัมมาทิฏฐิ ๒ ความรู้จักอาหาร
Tape 39 สัมมาทิฏฐิ ๓ ความรู้จักทุกข์
Tape 40 สัมมาทิฏฐิ ๔ ความรู้จักทุกข์ (ต่อ)
Tape 40 สัมมาทิฏฐิ ๕ ความรู้จักชรามรณะ
Tape 41 สัมมาทิฏฐิ ๖ ความรู้จักชาติความเกิด
Tape 41 สัมมาทิฏฐิ ๗ ความรู้จักภพ
Tape 42 สัมมาทิฏฐิ ๘ ความรู้จักภพ (ต่อ)
Tape 42 สัมมาทิฏฐิ ๙ ความรู้จักอุปาทาน
Tape 43 สัมมาทิฏฐิ ๑๐ ความรู้จักอุปาทาน (ต่อ)
Tape 43 สัมมาทิฏฐิ ๑๑ ความรู้จักสีลัพพตุปาทาน
Tape 44 สัมมาทิฏฐิ ๑๒ ความรู้จักอัตตวาทุปาทาน
Tape 44 สัมมาทิฏฐิ ๑๓ ความรู้จักสักกายทิฏฐิ
Tape 45 สัมมาทิฏฐิ ๑๔ ความรู้จักตัณหา
Tape 45 สัมมาทิฏฐิ ๑๕ ความรู้จักตัณหา (ต่อ)
Tape 46 สัมมาทิฏฐิ ๑๖ ความรู้จักเวทนา
Tape 46 สัมมาทิฏฐิ ๑๗ ความรู้จักผัสสะ
Tape 47 สัมมาทิฏฐิ ๑๘ ความรู้จักอายตนะ ๖
Tape 47 สัมมาทิฏฐิ ๑๙ ความรู้จักนามรูป
Tape 48 สัมมาทิฏฐิ ๒๐ ความรู้จักนามรูป (ต่อ)
Tape 48 สัมมาทิฏฐิ ๒๑ ความรู้จักวิญญาณ
Tape 49 สัมมาทิฏฐิ ๒๒ ความรู้จักสังขาร
Tape 49 สัมมาทิฏฐิ ๒๓ ความรู้จักอวิชชา
Tape 50 สัมมาทิฏฐิ ๒๔ ความรู้จักอวิชชา (ต่อ)
Tape 50 สัมมาทิฏฐิ ๒๕ ความรู้จักอวิชชา (ต่อ)
Tape 51 สัมมาทิฏฐิ ๒๖ ความรู้จักอวิชชา (ต่อ)
Tape 51 สัมมาทิฏฐิ ๒๗ ความรู้จักอาสวะ
Tape 52 สัมมาทิฏฐิ ๒๘ ความรู้จักอาสวะ (ต่อ)
Tape 52 สัมมาทิฏฐิ ๒๙ ความรู้จักอาสวะ (ต่อ)
Tape 53 สัมมาทิฏฐิ ๓๐ อาสวะเป็นปัจจัยให้เกิดอวิชชา
Tape 53 สัมมาทิฏฐิ ๓๑ อาสวะเป็นปัจจัยให้เกิดอวิชชา (ต่อ)
Tape 54 สัมมาทิฏฐิ ๓๒ อวิชชาเป็นปัจจัยให้เกิดสังขาร
Tape 54 สัมมาทิฏฐิ ๓๓ อวิชชาเป็นปัจจัยให้เกิดสังขาร (ต่อ)
Tape 55 สัมมาทิฏฐิ ๓๔ สังขารเป็นปัจจัยให้เกิดวิญญาณ
Tape 55 สัมมาทิฏฐิ ๓๕ วิญญาณเป็นปัจจัยให้เกิดนามรูป
Tape 56 สัมมาทิฏฐิ ๓๖ นามรูปเป็นปัจจัยให้เกิดอายตนะ
Tape 56 สัมมาทิฏฐิ ๓๗ อายตนะเป็นปัจจัยให้เกิดผัสสะ
Tape 57 สัมมาทิฏฐิ ๓๘ ผัสสะเป็นปัจจัยให้เกิดเวทนา
Tape 57 สัมมาทิฏฐิ ๓๙ ตัณหาเป็นปัจจัยให้เกิดอุปาทาน
Tape 58 สัมมาทิฏฐิ ๔๐ อุปาทานเป็นปัจจัยให้เกิดภพ
Tape 58 สัมมาทิฏฐิ ๔๑ อริยสัจจ์โดยพิสดาร
Tape 59 สัมมาทิฏฐิ ๔๒ อริยสัจจ์โดยพิสดาร (ต่อ)
Tape 59 สัมมาทิฏฐิ ๔๓ สรุปสติปัฏฐาน ๔
Tape 60 พระพุทธคุณบทว่าอรหํ (๑) ( กัณฑ์เริ่มต้นในพรรษกาลหนึ่ง )
Tape 60 พระพุทธคุณบทว่าอรหํ (๒)
Tape 61 พระพุทธคุณบทว่าอรหํ (๓)
Tape 61 พระพุทธคุณบทว่าอรหํ (๔) ( ไม่มีหัวข้อ )
Tape 62 พระพุทธคุณบทว่าสัมมาสัมพุทโธ ( ไม่มีหัวข้อ )
Tape 62 พระพุทธคุณบทว่าวิชชาจรณสัมปันโน
Tape 63 วิชชา ๘
Tape 63 พระพุทธคุณบทว่าจรณสัมปันโน
Tape 64 เสขะปฏิปทา ๑๕
Tape 64 พระพุทธคุณบทว่าสุคโต
Tape 65 พระพุทธคุณบทว่าโลกวิทู (๑)
Tape 65 พระพุทธคุณบทว่าโลกวิทู (๒)
Tape 66 พระพุทธคุณบทว่าอนุตโรปุริสทัมสารถิ (๑)
Tape 66 พระพุทธคุณบทว่าอนุตโรปุริสทัมสารถิ (๒)
Tape 67 พระพุทธคุณบทว่าอนุตโรปุริสทัมสารถิ (๓)
Tape 67 พระพุทธคุณบทว่า สตฺถา เทวมนุสฺสานํ ( ไม่มีหัวข้อ )
Tape 68 พระพุทธคุณบทว่าพุทโธ (๑) ( ไม่มีหัวข้อ )
Tape 68 พระพุทธคุณบทว่าพุทโธ (๒)
Tape 69 พระพุทธคุณบทว่าพุทโธ (๓)
Tape 69 พระพุทธคุณบทว่าพุทโธ (๔)
Tape 70 พระพุทธคุณบทว่าภควา (๑)
Tape 70 พระพุทธคุณบทว่าภควา (๒)
Tape 71 พระพุทธคุณบทว่าภควา (๓)
Tape 71 พระพุทธคุณบทว่าภควา (๔)
Tape 72 พระพุทธคุณบทว่าภควา (๕)
Tape 72 พระพุทธคุณบทว่าภควา (๖)
Tape 73 พระพุทธคุณบทว่าภควา (๗)
Tape 73 พระพุทธคุณบทว่าภควา (๘)
Tape 74 การปฏิบัติทำจิตตภาวนา
Tape 74 ไตรสิกขา
Tape 75 เบื้องต้นของกุศลธรรม ( ไม่มีหัวข้อ )
Tape 75 กายเวทนาจิตธรรม ( ไม่มีหัวข้อ )
Tape 76 การปฏิบัติธรรมในพุทธศาสนา
Tape 76 ขันติ อธิวาสนะขันติ
Tape 77 อนุโลมิกะขันติ
Tape 77 มาร ๕
Tape 78 มาร ๕ (๒)
Tape 78 อรรถอันแท้จริงของคำว่าธรรมะ
Tape 79 พระธรรมคุณ ๑ สวากขาโต สติกำหนดดูกายเวทนาจิตธรรม
Tape 79 พระธรรมคุณ ๒ สันทิฏฐิโก การปฏิบัติสติปัฏฐานประจำวัน
Tape 80 พระธรรมคุณ ๓ อกาลิโก
Tape 80 พระธรรมคุณ ๔ อกาลิโก
Tape 81 พระธรรมคุณ ๕ อกาลิโก
Tape 81 พระธรรมคุณ ๖ เอหิปัสสิโก
Tape 82 พระธรรมคุณ ๗ เอหิปัสสิโก (ต่อ)
Tape 82 พระธรรมคุณ ๘ เอหิปัสสิโก กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน
Tape 83 พระธรรมคุณ ๙ โอปนยิโก\
Tape 83 พระธรรมคุณ ๑๐ โอปนยิโก การปฏิบัติตั้งสติกำหนดเวทนา
Tape 84 พระธรรมคุณ ๑๑ โอปนยิโก เวทนา ๕
Tape 84 พระธรรมคุณ ๑๒ โอปนยิโก การปฏิบัติที่ถูกตรงต่อพระธรรมคุณบทนี้
Tape 85 พระธรรมคุณ ๑๓ โอปนยิโก สติกำหนดตามดูจิตสืบต่อจากเวทนา
Tape 85 พระธรรมคุณ ๑๔ ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิ
Tape 86 พระธรรมคุณ ๑๕ โอปนยิโก กำหนดดูจิต นิวรณ์
Tape 86 พระธรรมคุณ ๑๖ ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิ จิตตานุปัสสนา ขันธ์ ๕
Tape 87 อายตนะ สังโญชน์
Tape 87 เหตุเกิดนิวรณ์ เหตุดับนิวรณ์ โพชฌงค์ ๗
Tape 88 หลักปฏิบัติในโพชฌงค์ทั้ง ๗ พรหมวิหารธรรมข้อเมตตา
Tape 88 หลักปฏิบัติในโพชฌงค์ทั้ง ๗ พรหมวิหารธรรมข้อกรุณา
Tape 89 หลักปฏิบัติในโพชฌงค์ทั้ง ๗ พรหมวิหารธรรมข้อมุทิตา ( ไม่มีหัวข้อ )
Tape 89 หลักปฏิบัติในโพชฌงค์ทั้ง ๗ พรหมวิหารธรรมข้ออุเบกขา ( ไม่มีหัวข้อ )
Tape 90 สติสัมโพชฌงค์ ( ไม่มีหัวข้อ )
Tape 90 สติสัมโพชฌงค์ ธัมวิจยสัมโพชฌงค์ วิริยสัมโพชฌงค์ ( ไม่มีหัวข้อ )
Tape 91 ข้อว่าด้วยอายตนะ สังโญชน์
Tape 91 โลกทั้งหมดเป็นสิ่งที่เกิดดับ
Tape 92 หลักปฏิบัติในโพชฌงค์ทั้ง ๗
Tape 92 ความจริงที่ครอบโลก
Tape 93 เหตุให้เกิดทุกข์
Tape 93 ตัณหาเหตุให้เกิดทุกข์
Tape 94 การปฏิบัติที่จะทำให้เป็นผู้รู้
Tape 94 การปฏิบัติเพื่อเห็นทุกขสัจจะ
Tape 95 พระพุทธเจ้าเป็นสรณะคือที่พึ่ง
Tape 95 ความดับทุกข์ ทางปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์
Tape 96 ปริยัติธรรม ปฏิบัติธรรม ปฏิเวธธรรม
Tape 96 ว่าง
Tape 97 สังฆานุสสติ
Tape 97 สังฆานุสสติ สุปฏิปันโน ภควโต สาวกสังโฆ
Tape 98 สังฆานุสสติ สุปฏิปันโน ภควโต สาวกสังโฆ (ต่อ)
Tape 98 สังฆานุสสติ อุชุปฏิปันโน ภควโต สาวกสังโฆ
Tape 99 สังฆานุสสติ ญายะปฏิปันโน ภควโต สาวกสังโฆ
Tape 99 สังฆานุสสติ สามีจิปฏิปันโน ภควโต สาวกสังโฆ
Tape 100 สังฆานุสสติ อาหุเนยโย ภควโต สาวกสังโฆ
Tape 100 สังฆานุสสติ ปาหุเนยโย ภควโต สาวกสังโฆ
Tape 101 สังฆานุสสติ ทักขิเนยโย ภควโต สาวกสังโฆ
Tape 101 สังฆานุสสติ อัญชลิกรณีโย ภควโต สาวกสังโฆ
Tape 102 พระสังฆคุณ อนุตรัง ปุญญเขตตัง โลกัสสะ นาบุญของโลกอันยอดเยี่ยม
Tape 102 ความในพระสูตรที่ตรัสสอนพระราหุล ( ไม่มีหัวข้อ )
Tape 103 สติ ธรรมะที่มีอุปการะมาก
Tape 103 การปฏิบัติธรรมที่เข้าถึงธรรม
Tape 104 อปัณณกปฏิปทา (๑) การปฏิบัติที่ไม่ผิด โลกธรรม ๘
Tape 104 อปัณณกปฏิปทา (๒) กาลามสูตร
Tape 105 อปัณณกปฏิปทา (๓) พรหมวิหารธรรมข้อเมตตา
Tape 105 อปัณณกปฏิปทา (๔) พรหมวิหารธรรมข้อกรุณา
Tape 106 อปัณณกปฏิปทา (๕) พรหมวิหารธรรมข้อมุทิตา
Tape 106 อปัณณกปฏิปทา (๖) พรหมวิหารธรรมข้ออุเบกขา
Tape 107 อปัณณกปฏิปทา (๗) อัปปมัญญาพรหมวิหาร
Tape 107 อปัณณกปฏิปทา (๘) สรุปอัปปมัญญาพรหมวิหาร โพชฌงค์ ๗
Tape 108 เอกายนมรรค
Tape 108 การปฏิบัติในสติปัฏฐาน
Tape 109 โลกคือขันธ์
Tape 109 หลักปฏิบัติในไตรสิกขา ( ไม่มีหัวข้อ )
Tape 110 การปฏิบัติเพื่อปัญญา
Tape 110 สมมติบัญญัติ
Tape 111 โพธิปักขิยธรรม กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน
Tape 111 เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน เวทนา ๕
Tape 112 จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน ( ไม่มีหัวข้อ )
Tape 112 ธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน (๑)
Tape 113 ธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน (๒)
Tape 113 ธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน (๓) ขันธ์ ๕
Tape 114 อายตนะ สัญโญชน์
Tape 114 สัมมัปปธาน ๑
Tape 115 สัมมัปปธาน ๒
Tape 115 อิทธิบาท ๔
Tape 116 อินทรีย์ ๕
Tape 116 พละ ๕
Tape 117 โพชฌงค์ ๗
Tape 117 มรรค ๘
Tape 118 การปฏิบัติอบรมจิต
Tape 118 พรสำคัญของชีวิต
Tape 119 การปฏิบัติธรรม
Tape 119 ฌาน
Tape 120 การปฏิบัติของผู้มีสัมมาทิฏฐิ กิจที่พึงกระทำทุกวัน
Tape 120 การทำสมาธิในการฟัง
Tape 121 บุคคล ๓ จำพวก (๑) (ไม่มีหัวข้อ )
Tape 121 บุคคล ๓ จำพวก (๒) ( ไม่มีหัวข้อ )
Tape 122 การปฏิบัติในพระพุทธศาสนา
Tape 122 การปฏิบัติในประโยชน์ปัจจุบัน และประโยชน์ภายหน้า
Tape 123 จิตตภาวนา
Tape 123 กรรมฐานเบื้องต้น
Tape 124 หลักปฏิบัติเบื้องต้นในสติปัฏฐาน ๔
Tape 124 อุปการธรรม ๔ ประการ
Tape 125 การปฏิบัติเพื่อให้ได้สมาธิ
Tape 125 แนวปฏิบัติในองค์ฌานทั้ง ๕
Tape 126 กุศลวิตก อกุศลวิตก วิตกวิจารในอารมณ์ของสมาธิ
Tape 126 ข้อปฏิบัติเมื่อก่อนจะตรัสรู้
Tape 127 พระพุทธเจ้าสอนกรรมฐาน (๑)
Tape 127 พระพุทธเจ้าสอนกรรมฐาน (๒)
Tape 128 พระพุทธเจ้าสอนกรรมฐาน (๓)
Tape 128 อานาปานสติ ๔ ชั้นในกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน
Tape 129 อานาปานสติ ๔ ชั้นในกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน (ต่อ)
Tape 129 อานาปานสติ ๔ ชั้นในเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน
Tape 130 อานาปานสติ ๔ ชั้นในจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน
Tape 130 อานาปานสติ ๔ ชั้นในธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
Tape 131 สฬายตนะวิภังคสูตร (๑)
Tape 131 สฬายตนะวิภังคสูตร (๒)
Tape 132 สฬายตนะวิภังคสูตร (๓)
Tape 132 สฬายตนะวิภังคสูตร (๔)
Tape 133 พระพุทธคุณบทว่า อนุตโร ปุริสทัมสารถิ สติปัฏฐานของพระบรมศาสดา
Tape 133 ว่าง
Tape 134 การปฏิบัติในพระพุทธศาสนา กัณฑ์ที่สอนเริ่มต้นดีเยี่ยม
Tape 134 เบื้องต้นของนิวรณ์
Tape 135 หลักปฏิบัติในโพชฌงค์ทั้ง ๗
Tape 135 เบื้องต้นแห่งการปฏิบัติธรรม
Tape 136 สัจจะธรรม กาลเวลา
Tape 136 อาหารของนิวรณ์
Tape 137 นิวรณ์ ๕ อุเบกขาสัมโพชฌงค์
Tape 137 สัจจธรรม อริยสัจจ์
Tape 138 ทุกขอริยสัจจ์
Tape 138 สังขาร วิสังขาร
Tape 139 ธรรมจักขุดวงตาเห็นธรรม
Tape 139 หลักอริยสัจจ์
Tape 140 สังขารทุกข์
Tape 140 วิปรินามทุกข์
Tape 141 สชาติปัญญา
Tape 141 ปัญญาเห็นธรรม ความเวียนเกิดเวียนตาย
Tape 142 ทุกขสมุทัยเหตุให้เกิดทุกข์
Tape 142 ตัณหา ๓
Tape 143 ปิยะรูป สาตะรูป
Tape 143 ทุกขนิโรธความดับทุกข์
Tape 144 ทางปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์
Tape 144 ข้อปฏิบัติอันเป็นหนทางกลาง
Tape 145 ธรรมชาติของจิต
Tape 145 สมาธิ ๔ วิปัลลาส ๔
Tape 146 อานาปานสติสมาธิชั้นที่ ๑
Tape 146 อานาปานสติสมาธิชั้นที่ ๒
Tape 147 อานาปานสติสมาธิชั้นที่ ๓
Tape 147 อานาปานสติสมาธิชั้นที่ ๔
Tape 148 อิริยาปถปัพพะ อานาปานสติ ๔ ชั้น
Tape 148 สัมปชัญญะปัพพะ
Tape 149 ธาตุกรรมฐาน (๑) เวทนานุปัสสนาชั้นที่ ๒
Tape 150 ป่าช้า ข้อ ๑ - ๕ เวทนานุปัสสนาชั้นที่ ๓ และ ๔
Tape 150 ป่าช้า ข้อ ๖ - ๙ สรุปข้อพิจารณากาย
Tape 151 การพิจารณาภายในภายนอก เกิดดับ
Tape 151 กายวิเวก จิตตวิเวก อุปธิวิเวก
Tape 152 กรรมฐานที่พระพุทธเจ้าทรงปฏิบัติก่อนตรัสรู้ ๑
Tape 152 กรรมฐานที่พระพุทธเจ้าทรงปฏิบัติก่อนตรัสรู้ ๒
Tape 153 วิตักกสัณฐานสูตร (๑)
Tape 153 วิตักกสัณฐานสูตร (๒)(๓) ข้อที่หมายถึงเวทนานุปัสสนา
Tape 154 วิตักกสัณฐานสูตร (๔)
Tape 154 วิตักกสัณฐานสูตร (๕)
Tape 155 ศีล สมาธิ ปัญญา
Tape 155 กามฉันท์
Tape 156 นิวรณ์ข้อพยาบาท
Tape 156 นิวรณ์ข้อพยาบาท (ต่อ)
Tape 157 นิวรณ์ข้อถีนมิทธะ
Tape 157 อนาหารของนิวรณ์ข้อถีนมิทธะ
Tape 158 กรรมฐานป้องกันถีนมิทธะ
Tape 158 นิวรณ์ข้ออุทธัจจะกุกกุจจะ ( ไม่มีหัวข้อ )
Tape 159 อนาหารของอุทธัจจะกุกกุจจะ
Tape 159 นิวรณ์ข้อวิจิกิจฉา
Tape 160 พุทธานุสสติ ภควโต
Tape 160 พุทธานุสสติ อรหโต แนวปฏิบัติในสติปัฏฐาน ๔
Tape 161 พุทธานุสสติ สัมมาสัมพุทธะ กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน
Tape 161 ศีลสมาธิปัญญา อานาปานสติสมาธิชั้นที่ ๒
Tape 162 จิตตภาวนา และการปฏิบัติในสติปัฏฐาน
Tape 162 จิตตภาวนา, สติปัฏฐาน ๔, หลักปฏิบัติในสติปัฏฐาน ๔
Tape 163 ธรรมจักษุดวงตาเห็นธรรม
Tape 163 ข้อปฏิบัติข้อแรกในสติปัฏฐาน
Tape 164 การปฏิบัติในสติปัฏฐาน อานาปานสติ ๔ ชั้น
Tape 164 สัมปชัญญะในอิริยาบถ อินทรีย์ ๕ พละ ๕
Tape 165 การปฏิบัติในจิตตภาวนา

 :13:  http://www.mahayana.in.th/tsavok/tsavok.html
 :07: :45: :07: