ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: sithiphong
« เมื่อ: เมษายน 06, 2012, 07:37:12 am »

อยากให้เป็นเช่นนั้น

แต่ไม่รู้ว่าจะใช้ได้เมื่อไหร่หน่ะสิ

.
ข้อความโดย: กระตุกหางแมว
« เมื่อ: เมษายน 04, 2012, 09:43:31 pm »

สรุปว่าหมดจากโปร จากนี้ก็ไม่เกิน 1 บาท/นาที ใช่มั้ยครับ
อีกหน่อยโทรศัพท์บ้านคงจากเราไปเหมือนเช่นโทรเลขและแพคลิ้ง ใช่มั้ยครับพี่หนุ่ม55+
ข้อความโดย: sithiphong
« เมื่อ: เมษายน 04, 2012, 07:42:22 pm »

กสทช.เริ่มแล้ว คุมเก็บค่าโทรมือถือนาทีละ 99 สตางค์

เรียบเรียงข้อมูลโดยกระปุกดอทคอม

          กสทช. ประกาศบังคับใช้เก็บค่าโทรมือถือนาทีละไม่เกิน 99 สตางค์ เปิดช่องให้เอกชนเก็บค่าโทรเกินอัตราถึง 31 ธันวาคม 2555 นี้

          เมื่อวันที่ 3 เมษายน คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ประกาศให้ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ประเภทเสียงภายในประเทศ เก็บค่าโทรศัพท์จากผู้ใช้บริการได้ในอัตรานาทีละไม่เกิน 99 สตางค์ ซึ่งมีผลบังคับใช้แล้ววานนี้ (3 เมษายน)

          โดยสาระสำคัญของประกาศฉบับดังกล่าว คือ การกำหนดให้ผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม แบบที่สาม และให้หมายรวมถึงผู้ได้รับอนุญาต สัมปทาน หรือสัญญาให้ประกอบกิจการโทรคมนาคมจากบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) หรือบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) คิดค่าบริการแก่ผู้ใช้บริการไม่เกินอัตรา 99 สตางค์ต่อนาที

          ทั้งนี้ หากผู้รับใบอนุญาตที่กำหนดอัตราค่าบริการเกินกว่าอัตราขั้นสูงของค่าบริการที่กำหนด สามารถเรียกเก็บค่าบริการตามสัญญาที่ได้ทำไว้กับผู้ใช้บริการนั้นต่อไปจนกว่าสัญญาจะสิ้นสุดลง แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกินวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และห้ามมิให้ผู้รับใบอนุญาตทำการขยายระยะเวลาของสัญญาหรือรายการส่งเสริมการขายที่มีอยู่ก่อนวันที่ประกาศฉบับนี้ใช้บังคับ

          นอกจากนี้ หากผู้ให้บริการรายใดจะเปลี่ยนแปลงอัตราค่าบริการที่เกินกว่าอัตราขั้นสูงของค่าบริการที่กำหนด ให้ผู้รับใบอนุญาตรายนั้นยื่นคำขออนุญาต พร้อมเอกสารและหลักฐานประกอบการพิจารณา เพื่อให้ กสทช.พิจารณาเห็นชอบเสียก่อน และหากผู้ให้บริการจะเรียกเก็บค่าบริการอัตราค่าบริการใหม่ จะต้องแจ้งให้ผู้ใช้บริการทราบเป็นการทั่วไปล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30 วัน ตามเงื่อนไขหรือวิธีการที่คณะกรรมการกำหนด



อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมจาก กรุงเทพธุรกิจ



http://hilight.kapook.com/view/69629


.