ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: sithiphong
« เมื่อ: เมษายน 21, 2012, 08:53:56 pm »

แนะดื่มน้ำ “ตรีผลา” ขับพิษหน้าร้อน
โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์    
21 เมษายน 2555 11:54 น.

 กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยฯ “ตำรับตรีผลา” เครื่องดื่มดับร้อน-ขับพิษ ชวนคนไทยบริโภคเพื่อสุขภาพ
   

ภาพประกอบจากอินเทอร์เน็ต
   
       วันนี้ ( 21 เม.ย.) นพ.สุพรรณ ศรีธรรมมา อธิบดีกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสาธารณสุข (สธ.) กล่าวว่า เนื่องจากช่วงฤดูร้อน หากประชาชนทั่วไปต้องการที่จะหาวิธีคลายร้อน ให้มีสุขภาพดี แนะนำว่า การใช้ตำรับยาแบบไทยๆ ก็อสามารถช่วยดับความร้อนได้ดี ที่นิยม คือ ตำรับตรีผลาหรือตรีผล เป็นยาตำรับสมัยพุทธกาล คือการนำผลไม้ไทย 3 ชนิด ได้แก่ สมอไทย สมอพิเภก และมะขามป้อม มาปรุงเป็นยาปรับธาตุในหน้าร้อน มีสรรพคุณช่วยรักษาความสมดุลธาตุทั้ง 4 ของร่างกาย และเป็นยาที่ปลอดภัยไร้พิษข้างเคียงใดๆ ช่วยล้างพิษออกจากระบบต่างๆของร่างกาย โดยเฉพาะระบบทางเดินอาหาร ระบบเลือด ระบบน้ำเหลือง และใช้ได้กับคนทุกธาตุ ทุกเพศทุกวัย
       
       “สำหรับ สมอไทย มีรสเปรี้ยวฝาด ขม แทรกด้วยรสเค็ม สรรพคุณช่วยกัดเสมหะ แก้ไอ กระหายน้ำ แก้ท้องผูก แก้ไข้ บำรุงน้ำดี ช่วยทำให้ผิวพรรณเปล่งปลั่งรสฝาดช่วยสมานแผล แก้โรคกระเพาะอาหาร คนโบราณมักกล่าวว่า กินสมอไทยอย่างเดียวเท่ากับกินสมุนไพรหลายชนิด สมอพิเภก มีรสเปรี้ยวฝาด อมหวาน มีสรรพคุณตามตำรายาไทยแก้เสมหะ แก้ไข้และ แก้โรคริดสีดวงทวาร ส่วนที่ใช้คือผลแก่เต็มที่ ส่วนมะขามป้อมมีรสเปรี้ยว ฝาดขม สรรพคุณแก้ไอ แก้เสมหะ ทำให้ชุ่มคอ และมีวิตามินซีสูง” นพ.สุพรรณ กล่าว
       
       อธิบดีกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยฯ กล่าวด้วยว่า กล่าวในตอนท้ายว่า สำหรับวิธีการต้มยาตำรับตรีผลา ในฤดูร้อน จะผสมอัตราส่วนของสมุนไพร สมอพิเภก 12 ส่วน สมอไทย 8 ส่วน มะขามป้อม 4 ส่วน ผสมน้ำ 3 ลิตร ต้มให้เดือด เคี่ยวให้เหลือ 1 ส่วน เทกรองกากออก ดื่ม 30 ซีซี ก่อนอาหารเช้า - เย็น กรณีปรุงเป็นเครื่องดื่มสมุนไพร สูตรของกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ใช้อัตราส่วน สมอพิเภก 100 กรัม สมอไทย 200 กรัม มะขามป้อม 400 กรัม (ล้างให้สะอาด) ใส่น้ำ 6 ลิตร ตั้งไฟต้มเดือด 30 นาที ใช้รับประทานก่อนอาหารเช้า - เย็น ครั้งละ 1 แก้ว แต่ถ้าอยากได้แบบเจือจางก็ให้ใส่น้ำมากหน่อย เติมเกลือ น้ำตาล ปรุงรสตามชอบ ชงดื่มในน้ำแข็ง ช่วยให้สดชื่นคลายร้อน
       
       นพ.สุพรรณ กล่าวต่อว่า อย่างไรก็ตาม ขณะนี้มีอาจารย์มหาวิทยาลัยมหิดล และธรรมศาสตร์ กำลังศึกษาตำรับตรีผลาต้านมะเร็ง จะเห็นว่านอกจาก เป็นยาแล้วยังเป็นน้ำสมุนไพรที่ช่วยปรับสมดุลที่ดีเยี่ยมอีกตำรับหนึ่งอีกด้วย

-http://www.manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx?NewsID=9550000049592-

.