ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: พฤษภาคม 11, 2012, 12:08:36 am »

 :13: อนุโมทนาครับ
ขอบคุณครับพี่แป๋ม
ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: พฤษภาคม 10, 2012, 02:33:18 pm »



ในที่ประชุมสงฆ์ ณ เชตวันมหาวิหาร อัปโหลดโดย hiphoplanla เมื่อ 7 ม.ค. 2012

Playlist : http://www.youtube.com/playlist?list=PL23AC18B629465569

ฉบับเสียงอ่านล้วน ตามบทประพันธ์ อ.วศิน อินทสระ
รวมทั้งหมด ๓๓ ตอน


๑.ในที่ประชุมสงฆ์ ณ เชตวันมหาวิหาร
"พระอานนท์พุทธอนุชา" จากบทประพันธ์ของ วศิน อินทสระ
ให้เสียงโดย "มูลนิธิธรรมสันติ"
เสียงอ่านตามบทประพันธ์

๒.ณ สัณฐาคารแห่งนครกบิลพัสดุ์
๓.พุทธปักฐานผู้เป็นบัณฑิต
๔.มหามิตร
๕.กับพระนางมหาปชาบดี

 ๖.ความรัก - ความร้าย
 ๗.กับโกกิลาภิกษุณี
 ๘.โกกิลาผู้ประหาณกิเลส
 ๙.พันธุละกับพระราชา
๑๐.ณ ป่าประดู่ลาย

๑๑.บนกองกระดูกแห่งตัณหานุสัย
๑๒.สุทัตตะผู้สร้างอารามเชตวัน
๑๓.เบญจกัลยาณีนามวิสาขา
๑๔.มหาอุบาสิกานามวิสาขา
๑๕.พุทธานุภาพ

๑๖.นางบุญและนางบาป
๑๗.นางบาปและนางบุญ
๑๘.ปฎิกิริยาแห่งธัมโมชปัญญา
๑๙.น้ำใจและจริยา
๒๐.ปุพพุปการของพระพุทธอนุชา

๒๑.ความอัศจรรย์แห่งธรรมวินัย
๒๒.ปัจฉิมทัสนา ณ เวสาลี
๒๓.คราเมื่อทรงปลงพระชนมายุสังขาร
๒๔.พระอานนท์ร้องไห้
๒๕.ปัจฉิมสาวกอรหันต์และพวกดอกไม้มาร

๒๖.อุปกาชีวกกับพวกดอกไม้มาร
๒๗.อุปกาชีวกกับพระอนันตชิน
๒๘.เมื่อสาลวโนทยานขาวด้วยมหาวิปโยค
๒๙.วันหนึ่งก่อนประชุมสังคายนา
๓๐.พรหมทัณฑ์และ ณ ชาตสระบนเส้นทางฯ

๓๑.จตุรงคพลและวิมลมาน
๓๒.หญิงงามกับบิดา
๓๓.ไม่มีความสุขใดเสมอด้วยความสงบ

************



นะโม ตัสสะ ภควโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ ฯ 
นะโม ตัสสะ ภควโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ ฯ
นะโม ตัสสะ ภควโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ ฯ
ขอนอบน้อม เเด่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นั้น ผู้เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้ชอบได้ โดยพระองค์เอง ฯ

พุทธัง สรณัง คัจฉามิ ฯ ข้าพเจ้า ขอถึง ซึ่งพระพุทธเจ้า ว่าเป็นสรณะ ที่พึ่ง ที่อาศัย ฯ
ธัมมัง สรณัง คัจฉามิ ฯ ข้าพเจ้า ขอถึง ซึ่งพระธรรมเจ้า ว่าเป็นสรณะ ที่พึ่ง ที่อาศัย ฯ
สังฆัง สรณัง คัจฉามิ ฯ ข้าพเจ้า ขอถึง ซึ่งพระสงฆเจ้า ว่าเป็นสรณะ ที่พึ่ง ที่อาศัย ฯ

ทุติยัมปิ พุทธัง สรณัง คัจฉามิ ฯ ข้าพเจ้า ขอถึง ซึ่งพระพุทธเจ้า ว่าเป็นสรณะ ที่พึ่ง ที่อาศัย แม้ครั้งที่สองฯ
ทุติยัมปิ ธัมมัง สรณัง คัจฉามิ ฯ ข้าพเจ้า ขอถึง ซึ่งพระธรรมเจ้า ว่าเป็นสรณะ ที่พึ่ง ที่อาศัย แม้ครั้งที่สอง ฯ
ทุติยัมปิ สังฆัง สรณัง คัจฉามิ ฯ ข้าพเจ้า ขอถึง ซึ่งพระสงฆเจ้า ว่าเป็นสรณะ ที่พึ่ง ที่อาศัย แม้ครั้งที่สอง ฯ

ตะติยัมปิ พุทธัง สรณัง คัจฉามิ ฯ ข้าพเจ้า ขอถึง ซึ่งพระพุทธเจ้า ว่าเป็นสรณะ ที่พึ่ง ที่อาศัย แม้ครั้งที่สาม ฯ
ตะติยัมปิ ธัมมัง สรณัง คัจฉามิ ฯ ข้าพเจ้า ขอถึง ซึ่งพระธรรมเจ้า ว่าเป็นสรณะ ที่พึ่ง ที่อาศัย แม้ครั้งที่สาม ฯ
ตะติยัมปิ สังฆัง สรณัง คัจฉามิ ฯ ข้าพเจ้า ขอถึง ซึ่งพระธรรมเจ้า ว่าเป็นสรณะ ที่พึ่ง ที่อาศัย แม้ครั้งที่สาม ฯ

กราบ กราบ กราบ
สาธุ สาธุ สาธุ อนุโมทามิ