ตอบ

ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: พฤษภาคม 23, 2012, 02:20:37 am »




วิธีสอนคนป่วยที่ห่วงหน้าห่วงหลัง
ปัญหา
คนป่วยหนักที่มีความห่วงหน้าห่วงหลังในเวลาใกล้ตาย
เราควรจะสอนเขาอย่างไร ?

พุทธดำรัสตอบ “ ดูก่อนมหาบพิตร
อุบาสกผู้มีปัญญาพึงปลอบอุบาสก ผู้มีปัญญา
ที่กำลังป่วย เป็นทุกข์หนัก เป็นไข้หนัก
ด้วยธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความเบาใจ ๔ ประการว่า
ท่านจงเบาใจเถิดว่า ท่านมีความเลื่อมใสอันไม่หวั่นไหว
ในพระพุทธเจ้า....ในพระธรรม....ในพระสงฆ์
มีศีลอันเป็นที่รักของพระอริยเจ้า



“ครั้นปลอบ ด้วยธรรม ๔ ประการนี้แล้ว พึงกล่าวกรรมอย่างนี้ว่า
ถ้าแม้ท่านห่วงใยในมารดาบิดาก็จักตาย
แม้ไม่ห่วงใยในมารดาบิดาก็จักตายเหมือนกัน
ขอท่านจงละความห่วงใยในบุตรภริยาเสีย...

“พึงกล่าวกะเขาอย่างนี้ว่า ท่านก็เช่นเดียวกับเรา
มีความตายเป็นธรรมดา
ถึงแม้ท่านจะห่วงใยในบุตรและภริยา ท่านก็จักตาย
ถ้าแม้ไม่ห่วงใย....ก็จักตายเหมือนกัน ขอท่าน
จงละความห่วงใยในบุตรภริยาเสียเถิด....

“ถ้าเขากล่าวว่า เรายังมีความห่วงใยในกามคุณ ๕ อยู่....พึงกล่าวกับเขาอย่างนี้ว่า
กามอันเป็นทิพย์ยังดีกว่า ประณีตกว่ากามของมนุษย์ แล้วน้อมจิตไปใน
พวกเทพชั้นจาตุมหาราชเถิด.... พวกเทพชั้นดาวดึงส์ยังดีกว่าเทพชั้นจาตุมหาราช
พวกเทพชั้นยามายังดีกว่าเทพชั้นดาวดึงส์ พวกเทพชั้นดุสิตยังดีกว่า เทพชั้นยามา
พวกเทพชั้นนิมมานรดียังดีกว่าเทพชั้นดุสิต พวกเทพชั้นนิมมิตวสวัตตียังดีกว่า
เทพชั้นนิมมานรดี พรหมโลกยังดีกว่า เทพชั้นปรนิมมิตวสวัตตี แม้พรหมโลกก็ไม่เที่ยง
ไม่ยั่งยืน ยังนับเนื่องในสักกายะ ขอท่านจงพรากจิตจากพรหมโลก แล้วนำจิตเข้าไป
ในความดับสักกายะเถิด

“ ดูก่อนมหาบพิตร อาตมาภาพไม่กล่าวว่า มีความแตกต่างอะไรกันเลย
ระหว่างอุบาสกผู้มีจิตหลุดพ้นแล้วอย่างนี้
กับภิกษุผู้หลุดพ้นแล้วตั้งร้อยปี คือพ้นด้วยวิมุติเหมือนกัน....”



คิลายนสูตร มหา. สํ. (๑๖๒๘-๑๖๓๓ )
ตบ. ๑๙ : ๕๑๔-๕๑๖ ตท. ๑๙ : ๔๖๒-๔๖๕
ตอ. K.S. ๕ : ๓๔๙-๓๕๑

credit by -http://www.facebook.com/pages/ปรมัตถธรรม/264337953636012