ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: มิถุนายน 10, 2012, 02:10:12 pm »





ความเป็นอนิจัง ทุกขังและอนัตตาของขันธ์

หมั่นมีสติต่องานและหน้าที นี่แหล่ะคือการปฏิบัติธรรมที่ดีที่สุด
สิ่งนี้เป็นโพธิปักฯในส่วนของ อิทธิบาทสี่
จุดหมายของอิทธิบาทสี่ก็คือ สมาธิที่ตั้งมั่น

เมื่อเรามีสติและสมาธิที่ตั้งมั่นบ่อยๆแล้ว ก็ปฏิบัติอิทธิบาทในขั้นต่อไป
ด้วยการตั้งจุดมุ่งหมายใหม่ นั้นก็คือ ปฏิบัติให้ได้มาซึ่งไตรลักษณ์
ทำได้โดยการ มั่นเอาสติมารู้อารมณ์ที่เกิดขึ้น ณ.ปัจจุบันนั้น
เช่น โกรธก็รู้ หลงก็รู้ ราคะก็รู้
การตามรู้อารมณ์นี่แหล่ะเป็นเหตุปัจจัยให้เห็นไตรลักษณ์

การเห็นไตรลักษณ์ ไม่ใช่การเกิดขึ้น ตั้งอยู่และดับไปของจิต
แต่จะเป็นในลักษณะเข้าไปรู้การทำงานของขันธ์
และการทำงานของขันธ์ ก็ไม่ใช่การเกิดดับเหมือนดวงไฟ
แต่เป็นไปในลักษณะของเหตุปัจจัย การแทนที่กันของกระบวนการขันธ์

การตามรู้อารมณ์ก็คือการ ตามรู้ผลของกระบวนการขันธ์นั้นเอง
การจะเกิดอารมณ์ต่างๆได้ต้องมีเหตุปัจจัยมาจาก รูป(กาย) วิญญาณ
เวทนา สัญญาและสังขารขันธ์


การทำงานของขันธ์จะต้องครบขันธ์ห้าทุกครั้งอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
แต่ความสำคัญมันอยู๋ที่สังขารขันธ์ ผลของสังขารขันธ์หรือเรียกว่า
อาการของจิต จะออกมาในลักษณะใด
บ้างก็เป็นอกุศล โลภ โกรธ หลง บ้างก็กุศล สติ ปัญญา

การเห็นไตรลักษณ์นั้นก็คือ เมื่อกระบวนการขันธ์หนึ่งจบลง
สังขารขันธ์หรืออาการของจิต จะเป็นปัญญา

อธิบายความในส่วนของการเกิดปัญญา
ปัญญามันก็เกิดจากกระบวนการขันธ์เช่นกัน มันเป็นลักษณะกระบวนการขันธ์หนึ่ง
ไปเป็นเหตุปัจจัยให้เกิดกระบวนการของอีกขันธ์หนึ่ง

มันเกิดได้จาก การตามรู้อารมณ์(อาการของจิต)หรือสังขารณ์ขันธ์
เมื่อเรารู้อารมณ์หรือสังขารขันธ์ ย่อมต้องเกิดกระบวนการขันธ์ใหม่ขึ้นแล้ว
ความสำคัญมันอยู่ที่สัญญาของกระบวนการขันธ์ใหม่นี้

สัญญาก็คือการจำได้หมายรู้ คือมันไปจำหรือเปรียบเทียบอารมณ์เก่าที่เคย
เกิดในอดีตกับอารมณ์ใหม่ที่เกิดขึ้นณ.ปัจจุบัน ความหมายคือ
อารมณ์สองตัวนั้นต้องต้องเหมือนกัน เช่นโกรธหรือราคะฯลฯ
ผลของกระบวนการขันธ์แบบนี้จะเกิดอาการของจิตที่เป็นปัญญา
และปัญญาตัวนี้เอง
ไปทำให้เราไปเห็น ความเป็นอนิจัง ทุกขังและอนัตตาของขันธ์



- http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?f=1&t=42362&p=296781#p296781