ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: sithiphong
« เมื่อ: มิถุนายน 16, 2012, 09:33:10 am »

ความเชื่อผิด ๆ และความจริงของ "การละเมิดทางเพศ"
-http://icare.kapook.com/rape.php?ac=detail&s_id=37&id=2761-

ความเชื่อผิด ๆ และความจริงของ "การละเมิดทางเพศ" (มูลนิธิเพื่อนหญิง)

          มีความเชื่อผิด ๆ มากมายเกี่ยวกับการทำร้ายทางเพศ ความเชื่อเหล่านี้ฝังรากลึกอยู่ในวัฒนธรรม ศาสนา หรือการยึดถือคุณค่าทางสังคม เราจงมาช่วยกันลบล้างความเชื่อผิดๆ เหล่านี้ เพื่อขจัดการทำร้ายทางเพศให้หมดไป

ความเชื่อผิด ๆ

          - การทำร้ายทางเพศเป็นความผิดทางกฎหมายที่เกิดจากความรู้สึกทางเพศ
          - การทำร้ายทางเพศเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นกับคนอื่น ไม่ใช่ฉัน!
          - มีแต่เด็กสาวที่หน้าตาสวยเท่านั้น ที่จะถูกทำร้ายทางเพศ
          - ผู้หญิงที่ถูกทำร้ายทางเพศคงจะ “แส่หาเรื่องเอง”
          - ผู้ชายที่ลงมือทำร้ายทางเพศเพราะไม่สามารถควบคุมตนเองได้
          - ผู้ชายที่ลงมือทำร้ายทางเพศเพราะมีปัญหาทางอารมณ์หรือจิตใจ
          - การทำร้ายทางเพศมักเกิดจากคนแปลกหน้า
          - ผู้หญิงมักถูกทำร้ายทางเพศตอนกลางคืนในซอยเปลี่ยวๆ ในสวนสาธารณะ
          - ผู้หญิงที่ไม่มีร่องรอยของการถูกทุบตีหรือฟกช้ำไม่ได้ถูกข่มขืนจริง
          - ผู้หญิงที่ไม่ได้แจ้งความทันทีเพราะไม่ได้ถูกข่มขืนจริง
          - ผู้หญิงมักอ้างว่าถูกข่มขืนเพื่อเป็นการแก้แค้น หรือต้องการแบล็กเมล์เงินจากผู้ชาย

ความจริง

          - การทำร้ายทางเพศ เป็นความผิดทางกฎหมายในการกระทำรุนแรง โดยใช้การร่วมเพศเป็นอาวุธ
          - ถ้าเราไม่สามารถขจัดการทำร้ายทางเพศให้หมดไปจากสังคมเราได้ ก็ไม่มีผู้หญิงคนไหนมั่นใจในความปลอดภัยจากการถูกทำร้ายทางเพศได้
          - ผู้หญิงที่ถูกทำร้ายทางเพศมีทุกวัย
          - ไม่มีผู้หญิงคนไหนชอบถูกทำร้ายทางเพศ
          - ผลการศึกษาผู้ชายที่ข่มขืน ผู้หญิงพบว่า การลงมือทำร้ายทางเพศส่วนใหญ่มีการวางแผนล่วงหน้า ผู้ชายสามารถควบคุมความต้องการทางเพศของตนเองได้ และเป็นหน้าที่ของผู้ชาย
          - มีงานวิจัยยืนยันว่า ผู้ชายที่ลงมือทำร้ายทางเพศ คือคนปกติในสายตาของเพื่อนและเพื่อนร่วมงาน
          - ผู้ที่ลงมือทำร้ายทางเพศส่วนใหญ่เป็นคนที่ผู้หญิงรู้จัก เช่น เพื่อนบ้าน หรือแม้กระทั่งญาติพี่น้อง
          - การถูกข่มขืนหรือทำร้ายทางเพศเกิดได้ทั้งที่บ้าน โรงเรียน โรงพยาบาล ที่ทำงาน ฯลฯ
          - การไม่มีร่องรอยของการฟกช้ำหรือ บาดเจ็บไม่ได้หมายความว่าผู้หญิงไม่ได้ถูกข่มขืนจริง บ่อยครั้งที่การข่มขู่ว่าจะใช้ความรุนแรงทั้งกับตัวผู้หญิงเองหรือกับญาติ พี่น้อง ทำให้ผู้หญิงที่ถูกกระทำไม่กล้าต่อสู้
          - ความอับอาย ความกลัวที่จะถูกแก้แค้น ทำให้ผู้หญิงมักไม่กล้าไปแจ้งความทันทีเมื่อเกิดเหตุ
          - การกล่าวอ้างว่าถูกข่มขืนเป็นกรณีที่พบการกล่าวเท็จได้เหมือนกับความผิดตามกฎหมายอื่นๆ ไม่ได้มีอะไรแตกต่างกัน

ขอขอบคุณข้อมูลจาก

มูลนิธิเพื่อนหญิง
 

วันอังคารที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

.

http://icare.kapook.com/rape.php?ac=detail&s_id=37&id=2761

.